000 | 06775nam a2200253 a 4500 | ||
---|---|---|---|
008 | 231218s2566 th 000 0 tha d | ||
020 |
_a9786163886927 : _c342 |
||
040 |
_aBSRU _btha |
||
041 | 1 |
_atha _heng |
|
082 | 0 | 4 |
_a305.09 _bพ631ป 2566 |
100 | 1 | _aพิเก็ตตี, โทมัส | |
245 | 1 | 0 |
_aประวัติย่อของความเหลื่อมลํ้า = _bA brief history of equality / _cThomas Piketty, เขียน ; นรินทร์ องค์อินทรี, แปล |
300 |
_a362 หน้า : _bแผนภูมิ ; _c21 ซม. |
||
500 | _aกำลังดำเนินการ งานบ้านสมเด็จฯบุ๊คแฟร์ ครั้งที่ 11 ร้านจุฬา | ||
505 | 2 | _aการเคลื่อนไหวสู่ความเท่าเทียม หลักหมุดแรก -- การกระจายอำนาจและทรัพย์สินอันล่าช้า -- มรดกแห่งระบบทาสและลัทธิอาณานิคม -- ประเด็นเรื่องค่าสินไหมทดแทน -- การปฏิวัติ สถานภาพ และชนชั้น -- “การแบ่งสันปันส่วนอันยิ่งใหญ่ครั้งใหม่” ระหว่างปี 1914 ถึง 1980 -- ประชาธิปไตย สังคมนิยม และการเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า -- ความเท่าเทียมแท้ vs. การเลือกปฏิบัติ -- หนทางหลุดพ้นลัทธิอาณานิคมใหม่ -- เคลื่อนสู่สังคมนิยมเชิงประชาธิปไตย นิเวศวิทยา และพหุวัฒนธรรม | |
520 | _aประวัติย่อของความเหลื่อมล้ำ (A Brief History of Equality) ผลงานโดยโทมัส พิเก็ตตี ศาสตราจารย์เศรษฐศาสตร์, ผู้อำนวยการศูนย์ School of Advanced Studies in the Social Sciences และผู้อำนวยการร่วมห้องปฏิบัติการ World Inequality Lab) เคยสร้างงานสั่นสะเทือนสังคมอย่าง ‘ทุนนิยมในศตวรรษที่ 21’ (Capital in the Twenty-First Century) (2013) ที่อธิบายกลไกการสะสมและการเปลี่ยนแปลงของทุน และ Capital and Ideology (2019) อธิบายบทบาทของอุดมการณ์ที่ผลิตจากสังคมที่แตกต่างจะส่งผลต่อการก่อร่างสร้างการสะสมทุนและความเหลื่อมล้ำในสังคมอย่างไร อย่างไรก็ตามงานดังกล่าวก็มีข้อเสนอเกริ่นนำเพียงเล็กน้อยในการหาทางออกของความเหลื่อมล้ำของทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ประวัติย่อของความเหลื่อมล้ำคือส่วนต่อขยายเพิ่มเติมจากงานเก่าอย่าง Capital and Ideology (2019) โดยกล่าวถึงความสำคัญของแนวคิดอุดมการณ์เกี่ยวข้องอย่างไรกับความเหลื่อมล้ำ อุดมการณ์ในแต่ละสังคมมีความแตกต่างกันตามค่านิยมสังคม ประวัติศาสตร์สังคม ซึ่งอุดมการณ์จะเป็นตัวครอบงำความคิดและพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมว่า ลักษณะแบบใดเป็นเรื่องยุติธรรมหรือไม่ยุติธรรม อุดมการณ์เป็นสิ่งที่แปรผันไปตามสภาพแวดล้อมและกาลเวลา และสร้างมายาคติว่าความเหลื่อมล้ำเป็นสิ่งธรรมชาติและถูกต้องแล้ว อีกทั้งยังเสนอทางออกจากความเหลื่อมล้ำของระบอบทุนนิยม โดยพิเก็ตตีเคยให้สัมภาษณ์ว่า Capital in the Twenty-First Century จะเป็นหนังสือเล่มสุดท้ายที่เขาจะใช้กรอบของตะวันตกเป็นศูนย์กลางในการเขียนที่ใช้กระบวนการวิจัย ทฤษฎี รวมถึงข้อมูลจากมุมมองของการสะสมองค์ความรู้แบบตะวันตก ดังนั้นในประวัติย่อของความเหลื่อมล้ำเล่มนี้เขาได้ทลายกรอบมุมมองดังกล่าวแล้ว รวมถึงยังทลายมายาคติที่ว่า “ความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาทางด้านเศรษฐศาสตร์” เพราะสำหรับพิเก็ตตีแล้วความเหลื่อมล้ำเป็น “ผลผลิตร่วมของ ประวัติศาสตร์ การเมือง และสังคม” ที่ทุกคนในสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา | ||
650 | 7 | _aความเสมอภาค | |
650 | 7 |
_aชนชั้นในสังคม _94064 |
|
650 | 7 | _aการกระจายรายได้ | |
700 | 0 | _aนรินทร์ องค์อินทรี | |
856 | 4 |
_3ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) _uhttps://opacb.bsru.ac.th/book/ |
|
940 | _a2 | ||
942 |
_2ddc _c1 |
||
999 |
_c124098 _d124098 |
||
039 |
_a17232 _bชมพูนุท ชาญจรัสพงศ์ _c17232 _dชมพูนุท ชาญจรัสพงศ์ |