000 | 04753nam a22002417a 4500 | ||
---|---|---|---|
008 | 200324b2563 th ||||| |||| 00| 0 tha d | ||
020 |
_a9786164370968 : _c280 |
||
040 | _aBSRU | ||
082 | 0 | 4 |
_a895.912 _bน127อ 2563 |
100 | 0 |
_aนครสวรรค์วรพินิต, _cสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา |
|
245 | 1 | 0 |
_aอิเหนา / _cสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานครสวรรค์วรพินิต |
260 |
_aนนทบุรี : _bศรีปัญญา, _c2563 |
||
300 |
_a221 หน้า ; _c22 ซม. |
||
520 | _a "อิเหนา" รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า "นิทานปันหยี" มีต้นกำเนิดมาจากชวา เล่าถึงเรื่องราวและวีรกรรมของกษัตริย์ชวาโบราณ ผสมปนเปเข้ากับเรื่องความรัก ความผิดหวัง การศึกสงคราม และอีกหลายอรรถรส ปรากฏในรูปของวรรณคดีที่แพร่หลายมายาวนานในดินแดนชวาและมลายู สันนิษฐานกันว่า "อิเหนา" หรือ "นิทานปันหยี" แพร่เข้ามาในแผ่นดินไทยเมื่อครั้งสมัยปลายอยุธยา โดยเชื่อกันว่า พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ คือ เจ้าฟ้าหญิงกุณฑล และเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ ทรงได้นางข้าหลวงมาจากปัตตานี นางข้าหลวงคนนี้ได้เล่านิทานปันหยีหรือเรื่องอิเหนาของชวาถวาย เจ้าฟ้าหญิงกุณฑลทรงนำเค้าเรื่องมาแต่งเป็นบทละครเรื่องดาหลัง (อิเหนาใหญ่) ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฎทรงแต่งเรื่องอิเหนา (อิเหนาเล็ก) ทำให้ "นิทานปันหยี" ในประเทศไทยมี 2 เรื่อง นับแต่นั้นมา "ปันหยี สะมิหรัง" ที่แปลนี้ ต้นฉบับเก่าเป็นหนังสือภาษาชวา เก็บไว้ที่ห้องสมุดของสมาคมศิลปวิทยาเมืองปัตตาเวีย ส่วนฉบับที่ได้มาแปลนี้ เป็นภาษามลายู แปลจากต้นฉบับชวานั้นอีกชั้นหนึ่ง คำ "สะมิหรัง" แปลว่า แปลงหรือปลอมตัว คือว่าปันหยีแปลง คำนี้มีอีกนัยหนึ่งว่า "มิสาหรัง" ซึ่งเตือนให้นึกถึงหนังสืออิเหนาของเราซึ่งออกชื่อปันหยีว่า "มิสาระปันหยีสุกาหรา" จะอย่างไรก็ตามเมื่ออ่านไปแล้วย่อมตระหนักว่า มีเค้าที่จะลงรอยกับเรื่องอิเหนาของเรา แต่ในกระบวนชื่อเมือง ชื่อคนและวงศ์วารบ้างเท่านั้น ว่าโดยเนื้อเรื่องแล้วต่างกันมากอยู่ จะเทียบกับอิเหนาใหญ่หรืออิเหนาเล็กก็ไม่ตรงกันทั้งนั้น ส่วนที่แตกต่างกันมากน้อยเพียงไร ให้ผู้อ่านพิจารณาเอง... | ||
650 | 4 | _aอิเหนา | |
856 | 4 |
_3ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) _uhttps://opacb.bsru.ac.th/book/ |
|
900 | _a20/11/04 | ||
901 | _aTh Lang. | ||
901 | _aืืnew_nov20 | ||
940 |
_a281065 _a281066 ฉ.2 |
||
942 |
_2ddc _c1 |
||
999 |
_c109285 _d109285 |
||
039 |
_c20221 _dโบว์ แซ่เจียม |