ภารตะ-สยาม ศาสนาต้อง (ไม่) ห้ามเรื่องการเมือง? / คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง
Call number: 201.72 ค145ภ 2564 Material type: BookPublisher: กรุงเทพฯ : มติชน, 2564Description: 14, 265 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9789740217589 :Subject(s): พุทธศาสนากับการเมือง | ศาสนาฮินดูกับการเมือง | ศาสนากับการเมืองDDC classification: 201.72 ค145ภ 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)Item type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 201.72 ค145ภ 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000030422 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 201.72 ค145ภ 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000030423 |
พุทธธรรมกับการเมือง-- โพธิจิตอันประเสริฐ เมื่อคำสอน "โพธิจิต" ทำให้หัวใจสั่นไหว และความเมตตาของพระอาจารย์รูปหนึ่ง-- มหายานเพื่อมหาชน-- ไม่นับถือศาสนาเสียยังดีกว่า--พราหมณ์-ฮินดูกับการเมือง และความศักดิ์สิทธิ์-- หมอบกราบในวัฒนธรรมอินเดีย-- พระโคกินเลี้ยง คำทำนาย และประเทศไทย 4.0-- เมื่อพราหมณ์ "แบก" วรรณะต่ำเข้าเทวสถาน--ไสยศาสตร์กับการช่วงชิงความหมายในการเมืองไทย-- พรมแดนของ "งมงาย"-- ไสยศาสตร์ หมุดล่องหนและการเมืองไทยหมุดล่องหนรอบสอง-- กับการต่อสู้ด้านไสยศาสตร์การเมือ--ข้อเสนอส่งท้าย : ปฏิรูปศาสนาไปพร้อมกับการเมือง-- การเลือกตั้งกับนโยบายทางศาสนาของพรรคการเมือง-- อยากเห็น "ฌาปณกิจสถานของผู้ไม่นับถือศาสนา" ในบ้านเรา-- ปฏิรูปศาสนาไปพร้อมกับการเมือง (1) : ตั้งคำถามกับวัฒนธรรมอวยและระบบสมณศักดิ์
ศาสนาในสังคมไทยเป็นการเมืองเสียยิ่งกว่าการเมือง อีนุงตุงนังกับชีวิตใกล้ตัวเราอย่างแยกไม่ออก... ศาสนาไม่ใส ๆ อย่างที่เราคิด ไม่เพียว ไม่แท้ ไม่ได้มุ่งสู่การหลุดพ้นอะไรเลย แต่ "การเมือง" ที่บ่อยครั้งศาสนาและศาสนิกชนปฏิเสธที่จะเข้าไปสัมพันธ์ด้วย กลับมีอิทธิพลต่อศาสนาอย่างยิ่งยวด ศาสนาไทยเป็นการเมืองที่สุด ฝักใฝ่อำนาจที่สุด ฉ้อฉลตรวจสอบไม่ได้ที่สุด และกำลังนำพาตัวมันเองและประเทศไปสู่หายนะอย่างร้ายแรงที่สุด
There are no comments on this title.