ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมร่วมสมัย / บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล, กวินธร เสถียร, ฐานิดา บุญวรรโณ และ กุลธิดา ศรีวิเชียร

Contributor(s): บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล | กวินธร เสถียร | ฐานิดา บุญวรรโณ | กุลธิดา ศรีวิเชียรCall number: 303.4 ค181 2565 Material type: BookBookPublisher: พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2565Description: 348 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซมISBN: 9786164262713 :Subject(s): การเปลี่ยนแปลงทางสังคม | สังคมวิทยาDDC classification: 303.4 ค181 2565 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมร่วมสมัย เป็นหนังสือรวมบทความที่ พูดถึงการทําความเข้าใจสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงผ่านแนวคิด ทฤษฎี ปรากฏการณ์ทางสังคม ตลอดจนการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเพื่ออธิบาย ความเป็นสังคมในหลากหลายมิติ ด้วยสาขาวิชา เช่น จิตวิทยา รัฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมวิทยา โดยนําเสนอมุมมองทั้งในระดับปัจเจก กลุ่มสังคม ชุมชน สถาบันทางสังคมอย่างครอบครัว โรงเรียน และสังคมในระดับนานาชาติ หรือระดับโลกในบริบทร่วมสมัย ที่ไม่ใช่แค่พูดถึงความเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันเท่านั้นแต่ความร่วมสมัยที่นี้ยังสัมพันธ์กับอดีตเพื่อให้เห็นถึง การเปลี่ยนผ่าน (transformation) และการคาดการณ์หรือวาดหวังถึงอนาคตข้างหน้า
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 303.4 ค181 2565 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000033031
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 303.4 ค181 2565 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000033032

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมร่วมสมัย เป็นหนังสือรวมบทความที่ พูดถึงการทําความเข้าใจสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงผ่านแนวคิด ทฤษฎี ปรากฏการณ์ทางสังคม ตลอดจนการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเพื่ออธิบาย ความเป็นสังคมในหลากหลายมิติ ด้วยสาขาวิชา เช่น จิตวิทยา รัฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมวิทยา โดยนําเสนอมุมมองทั้งในระดับปัจเจก กลุ่มสังคม ชุมชน สถาบันทางสังคมอย่างครอบครัว โรงเรียน และสังคมในระดับนานาชาติ หรือระดับโลกในบริบทร่วมสมัย ที่ไม่ใช่แค่พูดถึงความเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันเท่านั้นแต่ความร่วมสมัยที่นี้ยังสัมพันธ์กับอดีตเพื่อให้เห็นถึง การเปลี่ยนผ่าน (transformation) และการคาดการณ์หรือวาดหวังถึงอนาคตข้างหน้า

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer