กิตติ ประเสริฐสุข
ความสัมพันธ์ญี่ปุ่น-อินเดีย ในโครงสร้างอำนาจโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง /
Japan-India relations in changing global power configuration.
กิตติ ประเสริฐสุข
- ปทุมธานี : สถาบันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561
- ก-จ, 229 หน้า : ภาพประกอบ, แผนที่, แผนภูมิ ; 21 ซม.
บทที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างชาติมหาอำนาจในภูมิภาค : ความสัมพันธ์สหรัฐฯ-จีน -- ความสัมพันธ์จีน-อินเดีย -- ความสัมพันธ์สหรัฐฯ-อินเดีย -- ความสัมพันธ์ญี่ปุ่น-จีน -- บทที่ 2 พัฒนาการความสัมพันธ์ญี่ปุ่น-อินเดีย : ความสัมพันธ์ในช่วงสงครามเย็น -- ความสัมพันธหลัง์สงครามเย็น -- ความสัมพันธ์ในทศวรรษ 2000 -- ความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับอินเดียในปัจจุบัน -- บทที่ 3 ความร่วมมือด้านความมั่นคง : ผลประโยชน์ด้านความมั่นคงร่วมกัน -- การฝึกซ้อมร่วมทางทะเล -- ความร่วมมือสามฝ่ายและสี่ฝ่าย -- ความร่วมมือต่อต้านการก่อการร้ายและโจรสลัด -- บทที่ 4 ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ : พัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ -- ความร่วมมือด้านการค้า -- ความร่วมมือด้านการลงทุน -- การให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (ODA) -- บทที่ 5 ความร่วมมือด้านอื่นๆ : ความร่วมมือด้านพลังงานนิวเคลียร์ -- การปฎิรูปคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UNSC)
"การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนและอินเดีย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการกระจายตัวทางอำนาจ ซึ่งก็คือ ความเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างอำนาจโลก"
การกระชับความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องของมหาอำนาจเอเชียโดยมีนัยสำคัญด้านความมั่นคง น่าสนใจว่า มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างอำนาจในภูมิภาคและในโลกอย่างไร? ทั้งในด้านความเป็นสาเหตุและผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
9786168139585 : 162
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ญี่ปุ่น--ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ--อินเดีย
อินเดีย--ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ--ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น--ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ--อินเดีย
อินเดีย--ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ--ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น--ความร่วมมือทางทหารกับต่างประเทศ--อินเดีย
อินเดีย--ความร่วมมือทางทหารกับต่างประเทศ--ญี่ปุ่น
327.52054 / ก672ค 2561