ทุน วัง คลัง (ศักดิ) นา : สมรภูมิเศรษฐกิจการเมืองไทย กับประชาธิปไตยที่ไม่ลงหลักปักฐาน [electronic resource] / อภิชาต สถิตนิรามัย และ อิสร์กุล อุณหเกตุ

By: อภิชาต สถิตนิรามัยContributor(s): อิสร์กุล อุณหเกตุ [ผู้แต่งร่วม]Call number: 352.1593 อ252ท 2564 Material type: Computer fileComputer filePublication: กรุงเทพฯ : มติชน, 2564Description: 1 online resourceContent type: text Media type: unmediated Carrier type: volumeISBN: 5522840249180 :Subject(s): การคลังสาธารณะ -- ไทย | การปฏิรูปที่ดิน -- ไทย | ทรัพย์สิน -- ไทย | ไทย -- การเมืองและการปกครอง | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book)DDC classification: 352.1593 อ252ท 2564 Online resources: e-book
Partial contents:
บทนำ เศรษฐกิจแบบตลาดก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริง (พ.ศ.2398)การเปลี่ยนแปลงระบบกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต : ความเหลื่อมล้ำกับความขัดแย้งทางการเมือง-- การบุกเบิกจับจองที่ดินเพื่อการเพาะปลูก-- การถือครองที่ดิน : ความเหลื่อมล้ำแห่งยุคเศรษฐกิจสมัยใหม่-- การรับรองระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยรัฐ--พระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์ : ศูนย์กลางแห่งความขัดแย้งทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองเก่ากับชนชั้นปกครองใหม่-- ภูมิหลังและการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของพระคลังข้างที่-- วิวาทะและความขัดแย้งว่าด้วยพระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์--ปฏิรูประบบการคลัง : จากผลประโยชน์ของชนชั้นปกครองกระจายสู่ประชาชน-- ระบบการคลังก่อนการปฏิวัติ 2475-- ระบบการคลังกับความเหลื่อมล้ำ ภายใต้การรวมศูนย์อำนาจของชนชั้นปกครอง-- พัฒนาการและผลกระทบของภาษีและอากรที่สำคัญ-- ประมุขแห่งรัฐ ความมั่นคง และการพัฒนา : แนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายภาครัฐ--การศึกษาและสาธารณสุข : หนทางแห่งการปฏิรูปสวัสดิการสังคม-- การศึกษาเพื่อชนชั้นนำหรือเพื่อมวลชน-- "สาธารณสุข" จากแนวคิดการกุศลสู่โครงสร้างพื้นฐานด้านสุขภาพ--บทสรุป : การเปลี่ยนแปลงทางสถาบันกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางการเมืองกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางเศรษฐกิจกับความเหลื่อมล้ำ-- ความลงท้าย
Summary: "ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในระดับสูงที่ดำรงอยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น ได้กลายเป็นแรงจูงใจสำคัญของชนชั้นปกครองเก่าที่ต่อต้านระบอบการปกครองใหม่แบบประชาธิปไตย เนื่องจากหากยอมให้ระบอบนี้ลงหลักปักฐานได้สำเร็จแล้ว ฝ่ายตนจะต้องยอมรับการกระจายทรัพยากรให้แก่ชนส่วนใหญ่ของสังคมมากเกินกว่าที่ตนจะยอมรับได้
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กำลังดำเนินการ e-book ซีเอ็ดยูเคชั่น (222 รายการ)

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book)

บทนำ เศรษฐกิจแบบตลาดก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริง (พ.ศ.2398)การเปลี่ยนแปลงระบบกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต : ความเหลื่อมล้ำกับความขัดแย้งทางการเมือง-- การบุกเบิกจับจองที่ดินเพื่อการเพาะปลูก-- การถือครองที่ดิน : ความเหลื่อมล้ำแห่งยุคเศรษฐกิจสมัยใหม่-- การรับรองระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยรัฐ--พระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์ : ศูนย์กลางแห่งความขัดแย้งทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองเก่ากับชนชั้นปกครองใหม่-- ภูมิหลังและการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของพระคลังข้างที่-- วิวาทะและความขัดแย้งว่าด้วยพระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์--ปฏิรูประบบการคลัง : จากผลประโยชน์ของชนชั้นปกครองกระจายสู่ประชาชน-- ระบบการคลังก่อนการปฏิวัติ 2475-- ระบบการคลังกับความเหลื่อมล้ำ ภายใต้การรวมศูนย์อำนาจของชนชั้นปกครอง-- พัฒนาการและผลกระทบของภาษีและอากรที่สำคัญ-- ประมุขแห่งรัฐ ความมั่นคง และการพัฒนา : แนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายภาครัฐ--การศึกษาและสาธารณสุข : หนทางแห่งการปฏิรูปสวัสดิการสังคม-- การศึกษาเพื่อชนชั้นนำหรือเพื่อมวลชน-- "สาธารณสุข" จากแนวคิดการกุศลสู่โครงสร้างพื้นฐานด้านสุขภาพ--บทสรุป : การเปลี่ยนแปลงทางสถาบันกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางการเมืองกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางเศรษฐกิจกับความเหลื่อมล้ำ-- ความลงท้าย

"ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในระดับสูงที่ดำรงอยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น ได้กลายเป็นแรงจูงใจสำคัญของชนชั้นปกครองเก่าที่ต่อต้านระบอบการปกครองใหม่แบบประชาธิปไตย เนื่องจากหากยอมให้ระบอบนี้ลงหลักปักฐานได้สำเร็จแล้ว ฝ่ายตนจะต้องยอมรับการกระจายทรัพยากรให้แก่ชนส่วนใหญ่ของสังคมมากเกินกว่าที่ตนจะยอมรับได้

There are no comments on this title.

to post a comment.