การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย สวัสดิการแรงงาน และการประยุกต์ใช้สังคมสงเคราะห์ในอุตสาหกรรม [electronic resource] / ธัญญลักษณ์ วีระสมบัติ

By: ธัญญลักษณ์ วีระสมบัติ [ผู้แต่ง]Call number: 331.25 ธ454ก 2564 Material type: Computer fileComputer filePublication: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564Description: 1 online resourceContent type: text Media type: computer Carrier type: online resourceSubject(s): สวัสดิการลูกจ้าง | การพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทย | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์DDC classification: 331.25 ธ454ก 2564 Online resources: e-book Summary: นับตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจในปี 2504 การพัฒนาอุตสาหกรรมถูกกำหนดให้เป็นทิศทางสำคัญในการสร้างความเจริญเติบโตให้กับเศรษฐกิจของประเทศไทยมาโดยตลอดทิศทางนี้ก่อให้เกิดผลดีในแง่ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจในอดีต อย่างไรก็ตามส่งผลกระทบในหลายมิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นทุนที่เกิดขึ้นกับคุณภาพชีวิตของแรงงาน ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนการใช้แรงงานราคาถูกจำนวนมากเมื่อในอดีต กระบวนการผลิตที่เน้นประสิทธิภาพเป็นหลัก เปลี่ยนผ่านเข้าสู่การใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้นภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายโดยใช้นวัตกรรม ในขณะที่ประเทศไทยยังมีปัญหาแรงงานในหลายมิติ อาทิ ปัญหาปริมาณแรงงานไม่เพียงพอ คุณภาพแรงงาน ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และที่สำคัญคือ ปัญหาคุณภาพชีวิตแรงงาน เช่น ปัญหาการทำงานหนัก ปัญหางานอันตราย และโรคจากการทำงาน เป็นต้น แม้ประเทศไทยจะเป็นสมาชิกขององค์การแรงงานระหว่างประเทศและสมาทานที่จะปฏิบัติตามแนวคิดงานที่มีคุณค่า(decent work) แต่ก็ยังพบปัญหาการใช้แรงงานและสถานการณ์ที่ลดทอนความสำคัญและอำนาจต่อรองของแรงงานมาโดยตลอด
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) สำนักพิมพ์จุฬา

บรรณานุกรม

นับตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจในปี 2504 การพัฒนาอุตสาหกรรมถูกกำหนดให้เป็นทิศทางสำคัญในการสร้างความเจริญเติบโตให้กับเศรษฐกิจของประเทศไทยมาโดยตลอดทิศทางนี้ก่อให้เกิดผลดีในแง่ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจในอดีต อย่างไรก็ตามส่งผลกระทบในหลายมิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นทุนที่เกิดขึ้นกับคุณภาพชีวิตของแรงงาน ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนการใช้แรงงานราคาถูกจำนวนมากเมื่อในอดีต กระบวนการผลิตที่เน้นประสิทธิภาพเป็นหลัก เปลี่ยนผ่านเข้าสู่การใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้นภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายโดยใช้นวัตกรรม ในขณะที่ประเทศไทยยังมีปัญหาแรงงานในหลายมิติ อาทิ ปัญหาปริมาณแรงงานไม่เพียงพอ คุณภาพแรงงาน ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และที่สำคัญคือ ปัญหาคุณภาพชีวิตแรงงาน เช่น ปัญหาการทำงานหนัก ปัญหางานอันตราย และโรคจากการทำงาน เป็นต้น แม้ประเทศไทยจะเป็นสมาชิกขององค์การแรงงานระหว่างประเทศและสมาทานที่จะปฏิบัติตามแนวคิดงานที่มีคุณค่า(decent work) แต่ก็ยังพบปัญหาการใช้แรงงานและสถานการณ์ที่ลดทอนความสำคัญและอำนาจต่อรองของแรงงานมาโดยตลอด

There are no comments on this title.

to post a comment.