มานุษยวิทยาอุษาคเนย์ [electronic resource] / พิเชฐ สายพันธ์
Call number: 305.89 พ653ม 2564 Material type: Computer filePublication: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564Description: 1 online resourceContent type: text Media type: computer Carrier type: online resourceSubject(s): มานุษยวิทยา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | ชาติพันธุ์วิทยา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์DDC classification: 305.89 พ653ม 2564 Online resources: e-book Summary: อุษาคเนย์ หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เป็นภูมิภาคที่ประกอบด้วยความหลากหลายของกลุ่มสังคมและกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆ ที่สลับซับซ้อนมากที่สุดบริเวณหนึ่งของโลก การตั้งถิ่นฐานอันหลากหลายและกระจายตัวอยู่ทั่วไปในภูมิภาค ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางโบราณคดี การบูรณาการทางสังคมที่แตกต่างกันด้วยพัฒนาการภายในและการติดต่อแลกเปลี่ยนกับอารยธรรมทางไกลที่มาจากโลกตะวันออกและโลกตะวันตก การเปลี่ยนผ่านลักษณะสังคมจากสังคมแบบจารีตประเพณีมาสู่สังคมสมัยใหม่ด้วยอิทธิพลในช่วงสมัยอาณานิคมและหลังอาณานิคม ตลอดจนสภาวะโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื้นที่สำคัญทางการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ตลอดจนศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นักมานุษยวิทยาเองให้ความสนใจศึกษาภูมิภาคนี้เป็นอย่างมากจนทำให้อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น “สวรรค์ของการศึกษาทางมานุษยวิทยา”หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) สำนักพิมพ์จุฬา
บรรณานุกรม
อุษาคเนย์ หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เป็นภูมิภาคที่ประกอบด้วยความหลากหลายของกลุ่มสังคมและกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆ ที่สลับซับซ้อนมากที่สุดบริเวณหนึ่งของโลก การตั้งถิ่นฐานอันหลากหลายและกระจายตัวอยู่ทั่วไปในภูมิภาค ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตามหลักฐานทางโบราณคดี การบูรณาการทางสังคมที่แตกต่างกันด้วยพัฒนาการภายในและการติดต่อแลกเปลี่ยนกับอารยธรรมทางไกลที่มาจากโลกตะวันออกและโลกตะวันตก การเปลี่ยนผ่านลักษณะสังคมจากสังคมแบบจารีตประเพณีมาสู่สังคมสมัยใหม่ด้วยอิทธิพลในช่วงสมัยอาณานิคมและหลังอาณานิคม ตลอดจนสภาวะโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื้นที่สำคัญทางการศึกษาด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ตลอดจนศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นักมานุษยวิทยาเองให้ความสนใจศึกษาภูมิภาคนี้เป็นอย่างมากจนทำให้อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น “สวรรค์ของการศึกษาทางมานุษยวิทยา”
There are no comments on this title.