มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนหลังวิกฤติโควิด-19 [electronic resource] / แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย
Call number: 338.4791 ส966ม 2565 Material type: Computer filePublication: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565Description: 1 online resourceContent type: text Media type: computer Carrier type: online resourseSubject(s): การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน | วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์DDC classification: 338.4791 ส966ม 2565 Online resources: e-book Summary: แรงบันดาลใจที่ผู้เขียนประสงค์เขียนหนังสือสักเล่มเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน เนื่องจากเคยบรรยายสาระและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับนักศึกษาในฐานะคนรุ่นใหม่ด้วยการลงภาคสนามเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๒๕๔๕ ทำให้เห็นว่าหลังเกิดปรากฏการณ์การระบาดไวรัส โคโรนา หรือโควิด ๑๙ ที่คร่าชีวิตมนุษยชาติไปจำนวนมาก สร้างความเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมหาศาลและมีทีท่าจะระบาดยาวนานจนไม่ทราบว่าจะจบลงเมื่อไร เวลานี้ โลกภายใต้อิทธิพลโควิด ๑๙ ทำให้ประจักษ์แล้วว่าวิกฤติและหายนะที่ชาวโลกกำลังเผชิญ เป็นความจริงและมีผลทั้งเชิงลบและบวก เพราะเพียงแค่มนุษย์หยุดโลก หยุดเดินทางท่องเที่ยวในช่วงโควิด ๑๙ ระบาดช่วงแรกคือปลายปี ๒๕๖๒ ธรรมชาติหลายแห่งฟื้นตัวขึ้นอย่างน่ามหัศจรรย์ จนมีคำกล่าวว่า “โรคช่วยรักษาโลก” พวกเราทุกคนจึงต้องช่วยกันสร้างแนวคิดและปฏิบัติให้เกิดผลจริงจังด้วยการถอดบทเรียนจากวิกฤติครั้งนี้ เพื่อนำมาสู่ความยั่งยืนของการท่องเที่ยว ยั่งยืนทั้งทุนธรรมชาติ ทุนวัฒนธรรม และรายได้ทางเศรษฐกิจที่จะยั่งยืนไปพร้อมกันอย่างบูรณาการ หนังสือชื่อ “มรดกทางวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” จึงเกิดขึ้นเพื่อหวังเป็นส่วนหนึ่งต่อการพัฒนาชาติบ้านเมืองด้วยกิจกรรมการท่องเที่ยว และรัฐบาลประสงค์ให้เป็นรายได้หลักของประเทศ เรื่องนี้เราทำได้ หากพวกเราช่วยกันบริหารจัดการอย่างบูรณาการจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะจาก “ผู้ถูกเที่ยว” หรือชุมชนคนเล็กคนน้อยที่เป็นเจ้าของแหล่งท่องที่ยวนั้น ๆ ที่มีกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ตามลักษณะความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศไทยและด้วยการสร้างทักษะรักษาความ “สะอาด” ทั้ง กาย ใจ จิตวิญญาณ ที่ต้องร่วมมือกันอย่าง New Normal จนเป็นวัคซีนที่ยั่งยืนตลอดไปหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) สำนักพิมพ์จุฬา
บรรณานุกรม
แรงบันดาลใจที่ผู้เขียนประสงค์เขียนหนังสือสักเล่มเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน เนื่องจากเคยบรรยายสาระและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับนักศึกษาในฐานะคนรุ่นใหม่ด้วยการลงภาคสนามเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ตั้งแต่ราว พ.ศ. ๒๕๔๕ ทำให้เห็นว่าหลังเกิดปรากฏการณ์การระบาดไวรัส โคโรนา หรือโควิด ๑๙ ที่คร่าชีวิตมนุษยชาติไปจำนวนมาก สร้างความเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมหาศาลและมีทีท่าจะระบาดยาวนานจนไม่ทราบว่าจะจบลงเมื่อไร เวลานี้ โลกภายใต้อิทธิพลโควิด ๑๙ ทำให้ประจักษ์แล้วว่าวิกฤติและหายนะที่ชาวโลกกำลังเผชิญ เป็นความจริงและมีผลทั้งเชิงลบและบวก เพราะเพียงแค่มนุษย์หยุดโลก หยุดเดินทางท่องเที่ยวในช่วงโควิด ๑๙ ระบาดช่วงแรกคือปลายปี ๒๕๖๒ ธรรมชาติหลายแห่งฟื้นตัวขึ้นอย่างน่ามหัศจรรย์ จนมีคำกล่าวว่า “โรคช่วยรักษาโลก” พวกเราทุกคนจึงต้องช่วยกันสร้างแนวคิดและปฏิบัติให้เกิดผลจริงจังด้วยการถอดบทเรียนจากวิกฤติครั้งนี้ เพื่อนำมาสู่ความยั่งยืนของการท่องเที่ยว ยั่งยืนทั้งทุนธรรมชาติ ทุนวัฒนธรรม และรายได้ทางเศรษฐกิจที่จะยั่งยืนไปพร้อมกันอย่างบูรณาการ หนังสือชื่อ “มรดกทางวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน” จึงเกิดขึ้นเพื่อหวังเป็นส่วนหนึ่งต่อการพัฒนาชาติบ้านเมืองด้วยกิจกรรมการท่องเที่ยว และรัฐบาลประสงค์ให้เป็นรายได้หลักของประเทศ เรื่องนี้เราทำได้ หากพวกเราช่วยกันบริหารจัดการอย่างบูรณาการจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะจาก “ผู้ถูกเที่ยว” หรือชุมชนคนเล็กคนน้อยที่เป็นเจ้าของแหล่งท่องที่ยวนั้น ๆ ที่มีกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ตามลักษณะความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศไทยและด้วยการสร้างทักษะรักษาความ “สะอาด” ทั้ง กาย ใจ จิตวิญญาณ ที่ต้องร่วมมือกันอย่าง New Normal จนเป็นวัคซีนที่ยั่งยืนตลอดไป
There are no comments on this title.