สมรรถนะการนิเทศเชิงรุก ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ / พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ

By: พิมพันธ์ เดชะคุปต์Call number: 371.2 พ721ส 2565 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565Description: 92 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786165940351 :Subject(s): การนิเทศการศึกษาDDC classification: 371.2 พ721ส 2565 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: PIC (ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ) เป็นกลยุทธ์หนึ่งของการนิเทศผู้เขียนมีความชื่นชมเป็นพิเศษ จึงเรียกว่า เป็นการนิเทศเชิงรุก และมีแนวคิดสำคัญว่า ไม่ใช่เป็นบทบาทของศึกษานิเทศก์ หรือคณะผู้บริหารสถานศึกษาเท่านั้น แต่ควรเป็นบทบาทของครูในสถานศึกษา จึงจัดให้เป็นอีกสมรรถนะหนึ่งของครูมืออาชีพ เรียก สมรรถนะการนิเทศเชิงรุก ที่ทุกๆ คนที่เกี่ยวข้องทำหน้าที่เป็น Coach และ Mentor ด้วยการใช้กระบวนการชี้แนะแบบพี่เลี้ยง (Mentoring-Coaching) พัฒนาครูมีสมรรถนะการสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้บรูณาการเสริมสมรรถนะรวมทั้งการนำไปใช้ ด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงเสริมสมรรถนะหลักตามหลักสูตรบนฐานสมรรถนะ คือ การพัฒนาครูให้มีการเป็นครูมืออาชีพอย่างต่อเนื่องทั้งนี้เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาของชาติ (DOE) ในยุคสังคมเปลี่ยนแปลงในโลกที่ผันผวน
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 371.2 พ721ส 2565 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000032879
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 371.2 พ721ส 2565 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000032880

PIC (ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ) เป็นกลยุทธ์หนึ่งของการนิเทศผู้เขียนมีความชื่นชมเป็นพิเศษ จึงเรียกว่า เป็นการนิเทศเชิงรุก และมีแนวคิดสำคัญว่า ไม่ใช่เป็นบทบาทของศึกษานิเทศก์ หรือคณะผู้บริหารสถานศึกษาเท่านั้น แต่ควรเป็นบทบาทของครูในสถานศึกษา จึงจัดให้เป็นอีกสมรรถนะหนึ่งของครูมืออาชีพ เรียก สมรรถนะการนิเทศเชิงรุก ที่ทุกๆ คนที่เกี่ยวข้องทำหน้าที่เป็น Coach และ Mentor ด้วยการใช้กระบวนการชี้แนะแบบพี่เลี้ยง (Mentoring-Coaching) พัฒนาครูมีสมรรถนะการสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้บรูณาการเสริมสมรรถนะรวมทั้งการนำไปใช้ ด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงเสริมสมรรถนะหลักตามหลักสูตรบนฐานสมรรถนะ คือ การพัฒนาครูให้มีการเป็นครูมืออาชีพอย่างต่อเนื่องทั้งนี้เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาของชาติ (DOE) ในยุคสังคมเปลี่ยนแปลงในโลกที่ผันผวน

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer