รายงานผลการพิจารณาศึกษา เรื่อง ผลกระทบและวิธีแก้ปัญหาข่าวปลอม(Fake News) ที่มีผลต่อการพัฒนาการเมืองและการสื่อสารมวลชน / สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
Call number: 302.23 ร451 Material type:![Book](/opac-tmpl/lib/famfamfam/BK.png)
Item type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 302.23 ร451 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000032325 | |
![]() |
สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 302.23 ร451 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000032326 |
นอกจากหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่โดยตรงแล้ว ยังมีหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ ที่มีการดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบข่าวปลอมและการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ เช่น กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ และองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย ขณะที่องค์กรภาคเอกชน/ภาคประชาสังคมก็มีบทยาทในการตรวจสอบข่าวปลอมด้วยเช่นกัน เช่น สำนักข่าว Agence France Presse โครงการโคแฟค Cofact และ Internews เช่นเดียวกันกับแพลตฟอร์มออนไลน์ ทั้งเฟสบุ๊ค และทวิตเตอร์
อภินันทนาการ
There are no comments on this title.