ไวยากรณ์ไทยเชิงสื่อสาร : การวิเคราะห์แนวภาษาศาสตร์หน้าที่นิยมเชิงแบบลักษณ์ / อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา

By: อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนาCall number: 495.918 อ525ว 2565 Material type: BookBookPublisher: พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2565Description: 464 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซมISBN: 9786164262591 :Subject(s): การสื่อสาร | ภาษาไทย -- ไวยากรณ์ | อรรถศาสตร์DDC classification: 495.918 อ525ว 2565 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: ไวยากรณ์ไทยเชิงสื่อสาร : การวิเคราะห์แนวภาษาศาสตร์หน้าที่นิยม เชิงแบบลักษณ์” เป็นตำราที่ริเริ่มนำแนวทางภาษาศาสตร์ปริชานมาวิเคราะห์และอธิบายไวยากรณ์ภาษาไทยในภาพรวมทั้งระบบ โดยการพิจารณาหน้าที่ในการสื่อสาร เป็นหลักเพื่อนำไปผูกสัมพันธ์กับรูปและโครงสร้างไวยากรณ์ มีลักษณะเป็นพลวัตสามารถสืบสาวได้ถึงที่มา และเป็นเชิงแบบลักษณ์ สามารถเทียบเคียงได้กับภาษาอื่น ถือเป็นบูรณาการจากหลายด้าน ได้แก่ วากยสัมพันธ์ อรรถศาสตร์ วัจนปฏิบัติศาสตร์ ประวัติการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนสังคมวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับโครงสร้างภาษา ตำรานี้มีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการทางระบบหน่วยคำและคำหมวดหมู่ไวยากรณ์ หลักการประกอบวลีและประโยค หน้าที่ของส่วนประกอบ หน้าที่ของประโยคที่แปรไปในปริบทการใช้ภาษาต่าง ๆ และการเชื่อมโยงประโยคในสัมพันธสาร
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 495.918 อ525ว 2565 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000031964
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 495.918 อ525ว 2565 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000031965

ไวยากรณ์ไทยเชิงสื่อสาร : การวิเคราะห์แนวภาษาศาสตร์หน้าที่นิยม เชิงแบบลักษณ์” เป็นตำราที่ริเริ่มนำแนวทางภาษาศาสตร์ปริชานมาวิเคราะห์และอธิบายไวยากรณ์ภาษาไทยในภาพรวมทั้งระบบ โดยการพิจารณาหน้าที่ในการสื่อสาร เป็นหลักเพื่อนำไปผูกสัมพันธ์กับรูปและโครงสร้างไวยากรณ์ มีลักษณะเป็นพลวัตสามารถสืบสาวได้ถึงที่มา และเป็นเชิงแบบลักษณ์ สามารถเทียบเคียงได้กับภาษาอื่น ถือเป็นบูรณาการจากหลายด้าน ได้แก่ วากยสัมพันธ์ อรรถศาสตร์ วัจนปฏิบัติศาสตร์ ประวัติการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนสังคมวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับโครงสร้างภาษา ตำรานี้มีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการทางระบบหน่วยคำและคำหมวดหมู่ไวยากรณ์ หลักการประกอบวลีและประโยค หน้าที่ของส่วนประกอบ หน้าที่ของประโยคที่แปรไปในปริบทการใช้ภาษาต่าง ๆ และการเชื่อมโยงประโยคในสัมพันธสาร

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer