"ญี่ปุ่นอย่างที่เป็น" ลำดับที่ 19 : พัฒนาการผังเมืองประเทศญี่ปุ่น จากภาครัฐสู่การมีส่วนร่วมของชุมชน / อัมพิกา ชุมมัธยา
Call number: 361.952 อ559ญ 2564 Material type: BookSeries: Publisher: กรุงเทพฯ : โครงการสันติไมตรีไทย-ญี่ปุ่น (Japan Watch) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564Description: xii, 131 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786164881761 :Other title: ยุทธศาสตร์ FOIP ของญี่ปุ่นที่มีต่อยุทธศาสตร์ของสหรัฯ และจีน และผลกระทบต่อไทยSubject(s): การพัฒนาชุมชน -- ญี่ปุ่น | การจัดการภาวะฉุกเฉิน -- ญี่ปุ่นDDC classification: 361.952 อ559ญ 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: การรวบรวมข้อมูลพัฒนาการผังเมืองประเทศญี่ปุ่น จากภาครัฐสู่การมีส่วนร่วมของชุมชน หนังสือที่พยายามถ่ายทอด บอกเล่าเรื่องราว และสะท้อนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการวางผังเมืองจากรูปแบบที่ภาครัญมีบทบาทมากที่สุด สู่การผสมผสานทางวัฒนธรรมและความเข้าใจวิถีชีวิตของผู้คนในเมือง กลายเป็นการให้อำนาจแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมกับการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสม เพื่อให้เมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และอนาคตกลายเป็นเมืองที่ประชาชนได้ร่วมลงมือทำ และสร้างไปด้วยกันจนประสบความสำเร็จกลายเป็นแนวคิดการสร้างผังเมืองที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของประเทศญี่ปุ่น เรียกว่า มะจิซุกุริItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 361.952 อ559ญ 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000032192 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
การรวบรวมข้อมูลพัฒนาการผังเมืองประเทศญี่ปุ่น จากภาครัฐสู่การมีส่วนร่วมของชุมชน หนังสือที่พยายามถ่ายทอด บอกเล่าเรื่องราว และสะท้อนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการวางผังเมืองจากรูปแบบที่ภาครัญมีบทบาทมากที่สุด สู่การผสมผสานทางวัฒนธรรมและความเข้าใจวิถีชีวิตของผู้คนในเมือง กลายเป็นการให้อำนาจแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมกับการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสม เพื่อให้เมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และอนาคตกลายเป็นเมืองที่ประชาชนได้ร่วมลงมือทำ และสร้างไปด้วยกันจนประสบความสำเร็จกลายเป็นแนวคิดการสร้างผังเมืองที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของประเทศญี่ปุ่น เรียกว่า มะจิซุกุริ
อภินันทนาการ 22/05/05
There are no comments on this title.