มุสลิมชนกลุ่มน้อยภายใต้รัฐเมียนมาและรัฐไทย / เอกรินทร์ ต่วนศิริ

By: เอกรินทร์ ต่วนศิริCall number: 305.85 อ881ม 2564 Material type: BookBookPublisher: ปัตตานี : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2564Description: 191 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786162716737 :Subject(s): ชนกลุ่มน้อย | มุสลิม | มุสลิม -- ไทย | ความขัดแย้งทางสังคมDDC classification: 305.85 อ881ม 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)
Partial contents:
กรอบการวิเคราะห์เงื่อนไขไตรลักษณ์ -- เมียนมา: ความรุนแรงสุดโต่งระหว่างรัฐและมุสลิมชนกลุ่มน้อยโรฮิงญา -- ไทย: ความรุนแรงต่ำระหว่างรัฐไทยกับมลายูมุสลิม
Summary: หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นจากความสงสัยอันสามัญที่ว่า อะไรคือเงื่อนไขสำคัญของเหตุการณ์ความรุนแรงในรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศไทยมีปัจจัยที่เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร มิพักต้องเอ่ยถึงความสงสัยใคร่รู้ที่ว่า อะไรจะทำให้ความรุนแรงมันลดลงในอนาคตข้างหน้า ผู้เขียนตระหนักถึงพัฒนาการทางด้านประวัติศาสตร์ของสองประเทศ ว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจ เพราะการก่อรูปเป็นรัฐ-ชาติ (nation-state) การแบ่งเขตแดนรัฐสมัยใหม่เป็นเงื่อนไขสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ของความรุนแรงของทั้งสองประเทศ
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 305.85 อ881ม 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000031365
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 305.85 อ881ม 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000031366

กรอบการวิเคราะห์เงื่อนไขไตรลักษณ์ -- เมียนมา: ความรุนแรงสุดโต่งระหว่างรัฐและมุสลิมชนกลุ่มน้อยโรฮิงญา -- ไทย: ความรุนแรงต่ำระหว่างรัฐไทยกับมลายูมุสลิม

หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นจากความสงสัยอันสามัญที่ว่า อะไรคือเงื่อนไขสำคัญของเหตุการณ์ความรุนแรงในรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศไทยมีปัจจัยที่เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร มิพักต้องเอ่ยถึงความสงสัยใคร่รู้ที่ว่า อะไรจะทำให้ความรุนแรงมันลดลงในอนาคตข้างหน้า ผู้เขียนตระหนักถึงพัฒนาการทางด้านประวัติศาสตร์ของสองประเทศ ว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจ เพราะการก่อรูปเป็นรัฐ-ชาติ (nation-state) การแบ่งเขตแดนรัฐสมัยใหม่เป็นเงื่อนไขสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ของความรุนแรงของทั้งสองประเทศ

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer