สมุดไทย : บันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม / บรรณาธิการ บุญเตือน ศรีวรพจน์

Contributor(s): บุญเตือน ศรีวรพจน์ | กรมส่งเสริมวัฒนธรรมCall number: 751.73 ส314 2563 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, 2563Description: 251 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซมISBN: 9786165436427 :Subject(s): สมุดไทย | จิตรกรรมไทย | ภูมิปัญญาไทย | ภูมิปัญญาชาวบ้าน | ไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณีDDC classification: 751.73 ส314 2563 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)
Contents:
สมุดไทย -- การทำสมุดไทย -- สมุดภาพจิตรกรรมไทย -- ตำราองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย
Summary: สมุดไทย นับเป็นเอกสารโบราณประเภทหนึ่งที่ถือเป็นมรดภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งใช้บันทึกความรู้สรรพตำราต่างๆ ในสมัยที่ยังไม่มีการพิมพ์ โดยมีลักษณะรูปเล่มแบบไทยเป็นกระดาษพับกลับไปกลับมาเป็นชั้นๆ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าวางตามแนวระนาบ สมุดไทยที่ผลิตขึ้นมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามภูมิภาคหรือพื้นที่หรือตามวัสดุที่นำมาใช้ผลิต ได้แก่ สมุดข่อย (ภาคกลาง) พับสา (ภาคเหนือ) หนังสือบุด (ภาคใต้) จนถึงช่วงสมัยที่การพิมพ์หนังสือตามวิธีของชาติตะวันตกเป็นที่แพร่หลายขึ้น สมุดไทยจึงค่อยเสื่อมคลายความนิยมลงตามลำดับ หากแต่สรรพวิทยาการนานาสาขาที่บันทึกไว้เป็นหลักฐานยังคงมีความสำคัญยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิทยาการของชนชาติไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ ซึ่งถือเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า ซึ่ง "สมุดไทย บันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม" ได้รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุดไทยทั้งในเรื่องความเป็นมา ชนิดและขนาด การบันทึกสมุดไทย การทำสมุดไทย ตั้งแต่การทำกระดาษ หล่อกระดาษ ลบสมุด และทำเล่ม สมุดภาพจิตกรกรรมไทย เรื่องราวในสมุดภาพจิตรกรรมไทย สมุดภาพไตรภูมิ สมุดมาลัย ชาดกและพุทธประวัติ ตำราองค์ความรู้ภูมิปัญญาของไทย เช่น ตำราช้างหรือตำราคชลักษณ์ ตำราม้าหรือตำราอัศวลักษณ์ ตำราเทวรูป ตำราเลขยันต์ ตำราพรหมชาติและตำราแม่ซื้อ ตำรารำและตำราภาพจับ ภาพแสดงวัฒนธรรมด้านอื่นๆ และวิถีธรรมชาติ เป็นต้น อีกทั้งยังมีการนำเสนอภาพเรื่องราวจากภายในสมุดไทยเรื่องต่างๆ ประกอบด้วย เช่น ภาพสมุดมาลัยแสดงภาพตอนพระมาลัยสนทนากับพระศรีอาริยเทพบุตรและพระอินทร์ ภาพมหาเวสสันดรชาดก พระอินทร์จำแลงเป็นพราหมณ์ขอพระราชทานพระนางมัทรีจากพระเวสสันดร ภาพมาตังคกรีเทพ เทวดา ๒๖ องค์ ที่รักษาร่างกายส่วนต่างๆ ของช้างจากสมุดภาพตำราช้าง ภาพยันต์อัคคีพินาศ ยันต์โสฬสมหามงคล และยันต์จตุโรตรีนิสิงเหจากตำรายันต์ ภาพแสดงแม่ซื้อเด็กวันอาทิตย์จากตำราแม่ซื่อ เป็นต้น ด้วยมุ่งหวังเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีอยู่ในสมุดไทยได้เป็นที่รู้จัก เข้าถึงและเข้าใจได้ง่ายแก่สาธารณชน และยังเป็นการอนุรักษ์ไว้ซึ่งคุณค่าแห่งมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติไทยสืบไป
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 751.73 ส314 2563 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000030409
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 751.73 ส314 2563 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000030410
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
No cover image available
No cover image available
688.8 ย318 20 ต้นแบบบรรจุภัณฑ์และฉลาก วิสาหกิจชุมชน จ. นนทบุรี / 728 ศ683ส 2562 สร้างและต่อเติมบ้านอย่างรู้กฎหมาย / 751.73 ส314 2563 สมุดไทย : บันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม / 751.73 ส314 2563 สมุดไทย : บันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม / 915.93003 ร421ป 2543 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี และประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่องการเขียนชื่อจังหวัด เขต อำเภอ และกิ่งอำเภอ และเรื่องหลักเกณฑ์การถอดอักษรไทย เป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง / อ 294.31218 ข636ห 2564 หลวงพ่อทวด พระอริยสงฆ์แห่งปักษ์ใต้ / อ 294.31218 ข636ห 2564 หลวงพ่อทวด พระอริยสงฆ์แห่งปักษ์ใต้ /

สมุดไทย -- การทำสมุดไทย -- สมุดภาพจิตรกรรมไทย -- ตำราองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย

สมุดไทย นับเป็นเอกสารโบราณประเภทหนึ่งที่ถือเป็นมรดภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งใช้บันทึกความรู้สรรพตำราต่างๆ ในสมัยที่ยังไม่มีการพิมพ์ โดยมีลักษณะรูปเล่มแบบไทยเป็นกระดาษพับกลับไปกลับมาเป็นชั้นๆ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าวางตามแนวระนาบ สมุดไทยที่ผลิตขึ้นมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามภูมิภาคหรือพื้นที่หรือตามวัสดุที่นำมาใช้ผลิต ได้แก่ สมุดข่อย (ภาคกลาง) พับสา (ภาคเหนือ) หนังสือบุด (ภาคใต้) จนถึงช่วงสมัยที่การพิมพ์หนังสือตามวิธีของชาติตะวันตกเป็นที่แพร่หลายขึ้น สมุดไทยจึงค่อยเสื่อมคลายความนิยมลงตามลำดับ หากแต่สรรพวิทยาการนานาสาขาที่บันทึกไว้เป็นหลักฐานยังคงมีความสำคัญยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิทยาการของชนชาติไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ ซึ่งถือเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า ซึ่ง "สมุดไทย บันทึกภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสยาม" ได้รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุดไทยทั้งในเรื่องความเป็นมา ชนิดและขนาด การบันทึกสมุดไทย การทำสมุดไทย ตั้งแต่การทำกระดาษ หล่อกระดาษ ลบสมุด และทำเล่ม สมุดภาพจิตกรกรรมไทย เรื่องราวในสมุดภาพจิตรกรรมไทย สมุดภาพไตรภูมิ สมุดมาลัย ชาดกและพุทธประวัติ ตำราองค์ความรู้ภูมิปัญญาของไทย เช่น ตำราช้างหรือตำราคชลักษณ์ ตำราม้าหรือตำราอัศวลักษณ์ ตำราเทวรูป ตำราเลขยันต์ ตำราพรหมชาติและตำราแม่ซื้อ ตำรารำและตำราภาพจับ ภาพแสดงวัฒนธรรมด้านอื่นๆ และวิถีธรรมชาติ เป็นต้น อีกทั้งยังมีการนำเสนอภาพเรื่องราวจากภายในสมุดไทยเรื่องต่างๆ ประกอบด้วย เช่น ภาพสมุดมาลัยแสดงภาพตอนพระมาลัยสนทนากับพระศรีอาริยเทพบุตรและพระอินทร์ ภาพมหาเวสสันดรชาดก พระอินทร์จำแลงเป็นพราหมณ์ขอพระราชทานพระนางมัทรีจากพระเวสสันดร ภาพมาตังคกรีเทพ เทวดา ๒๖ องค์ ที่รักษาร่างกายส่วนต่างๆ ของช้างจากสมุดภาพตำราช้าง ภาพยันต์อัคคีพินาศ ยันต์โสฬสมหามงคล และยันต์จตุโรตรีนิสิงเหจากตำรายันต์ ภาพแสดงแม่ซื้อเด็กวันอาทิตย์จากตำราแม่ซื่อ เป็นต้น ด้วยมุ่งหวังเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีอยู่ในสมุดไทยได้เป็นที่รู้จัก เข้าถึงและเข้าใจได้ง่ายแก่สาธารณชน และยังเป็นการอนุรักษ์ไว้ซึ่งคุณค่าแห่งมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติไทยสืบไป

อภินันทนาการ

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer