แปดประเด็นภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น / อัษฎายุทธ ชูศรี
Call number: 495.6 อ581ป 2563 Material type: BookPublisher: กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563Description: 255 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซมISBN: 9786164075726 :Subject(s): ภาษาญี่ปุ่น -- การใช้ภาษา | ภาษาญี่ปุ่น -- คำศัพท์ | ภาษาญี่ปุ่น -- บทสนทนาและวลีDDC classification: 495.6 อ581ป 2563 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนให้มีความง่ายแก่การศึกษามากขึ้น จึงมุ่งเน้นอธิบายเฉพาะส่วนที่ผู้เรียนน่าจะนำไปใช้ได้โดยทันที ส่วนที่อธิบายยากก็มักใช้วิธีแปลงเป็นสำนวน หรือคำศัพท์ หรือรูปประโยค ให้เราใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องรู้ที่มา อย่างไรก็ตาม เมื่อเราศึกษาไปมากขึ้น องค์ความรู้ที่เยอะมากมายก็อาจยากลำบากแก่การจดจำ ดังนั้นการนำความรู้ภาษาศาสตร์เข้ามาช่วยจัดระเบียบองค์ความรู้ที่มีอยู่ทำความรู้จักธรรมชาติของภาษาญี่ปุ่นเพื่อเข้าใจที่มาของการใช้งาน จะช่วยทำให้การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในขั้นกลางถึงสูงนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น และทำให้ใช้ภาษาได้แม่นยำมากขึ้นItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 495.6 อ581ป 2563 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000029008 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 495.6 อ581ป 2563 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000029009 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
495.6 ส837ค 2562 คำช่วย ใช้คู่คำกริยาญี่ปุ่น / | 495.6 ส837ส 2563 สกรรมกริยา -อกรรมกริยาภาษาญี่ปุ่นไม่ยาก / | 495.6 ส837ส 2563 สกรรมกริยา -อกรรมกริยาภาษาญี่ปุ่นไม่ยาก / | 495.6 อ581ป 2563 แปดประเด็นภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น / | 495.6 อ581ป 2563 แปดประเด็นภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น / | 495.6 อ745ส 2561 สนุกสนทนาภาษาญี่ปุ่น / | 495.6 ฮ461ห 2564 56 ไวยากรณ์ญี่ปุ่นระดับกลาง / |
การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนให้มีความง่ายแก่การศึกษามากขึ้น จึงมุ่งเน้นอธิบายเฉพาะส่วนที่ผู้เรียนน่าจะนำไปใช้ได้โดยทันที ส่วนที่อธิบายยากก็มักใช้วิธีแปลงเป็นสำนวน หรือคำศัพท์ หรือรูปประโยค ให้เราใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องรู้ที่มา อย่างไรก็ตาม เมื่อเราศึกษาไปมากขึ้น องค์ความรู้ที่เยอะมากมายก็อาจยากลำบากแก่การจดจำ ดังนั้นการนำความรู้ภาษาศาสตร์เข้ามาช่วยจัดระเบียบองค์ความรู้ที่มีอยู่ทำความรู้จักธรรมชาติของภาษาญี่ปุ่นเพื่อเข้าใจที่มาของการใช้งาน จะช่วยทำให้การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในขั้นกลางถึงสูงนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น และทำให้ใช้ภาษาได้แม่นยำมากขึ้น
There are no comments on this title.