คดี Miller กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา : บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักรในเหตุการณ์เบร็กซิท / รวินท์ ลีละพัฒนะ

By: รวินท์ ลีละพัฒนะCall number: 342.41052 ร165ค 2564 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564Description: 134 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซมISBN: 9789740340386 :Other title: บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักรในเหตุการณ์เบร็กซิทSubject(s): กฎหมายรัฐธรรมนูญ -- สหราชอาณาจักร | อำนาจนิติบัญญัติ -- สหราชอาณาจักร | รัฐสภา| -- สหราชอาณาจักร | กฎหมาย -- การตีความ -- สหราชอาณาจักรDDC classification: 342.41052 ร165ค 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)
Partial contents:
บทที่ 1 บทนำ: เบร็กซิท, คดี Miller, และหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา -- บทที่ 2 ประเด็นพิพาทในคดี Miller กับบทบาทของหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาในการจัดโครงสร้างการเมืองการปกครองแบบเสรีประชาธิปไตย -- บทที่ 3 คำพิพากษาของศาลฎีกาแห่งสหราชอาณาจักรในคดี Miller กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา -- บทที่ 4 จากคดี Miller I ถึงคดี Miller II: หลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาภายหลัง ค.ศ. 2017 -- บทที่ 5 ข้อความส่งท้าย
Summary: ในช่วงพ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญซึ่งชักชวนให้บรรดานักกฎหมายต้องหันมาอภิปรายกลไกของรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักร ได้แก่ ผลของการออกเสียงประชามติเบร็กซิท (Brexit) ซึ่งประชาชนเสียงข้างมากได้ลงคะแนนสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ผลการลงคะแนนดังกล่าวสร้างความสับสนและผิดหวังต่อประชาชนจำนวนมาก ทั้งยังนำไปสู่ความแตกแยกทางสังคมในดินแดนทั้ง 4 ส่วนของสหราชอาณาจักร ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ การเตรียมการแจ้งความประสงค์แยกตัวออกจากสหภาพยุโรปโดยรัฐบาลสหราชอาณาจักรนำไปสู่การฟ้องคดีที่รู้จักกันดีทั่วโลกอย่างคดี Miller โดยฝ่ายผู้ร้องนำโดยนางจีนา มิลเลอร์ (Gina Miller) โต้แย้งว่านิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา มิใช่พระราชอำนาจดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ (prerogative power) ดังที่รัฐบาลกล่าวอ้าง คำพิพากษาของศาลฎีกาในคดี Miller เมื่อ พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) เป็นดั่งอนุสรณ์สำคัญทางกฎหมายมหาชนที่ทำให้ผู้ศึกษากฎหมายได้มีโอกาสศึกษาหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศที่ไม่มีกฎหมายสูงสุดที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชื่อรัฐธรรมนูญ
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 342.41052 ร165ค 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000030257
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 342.41052 ร165ค 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000030258

บทที่ 1 บทนำ: เบร็กซิท, คดี Miller, และหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา -- บทที่ 2 ประเด็นพิพาทในคดี Miller กับบทบาทของหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาในการจัดโครงสร้างการเมืองการปกครองแบบเสรีประชาธิปไตย -- บทที่ 3 คำพิพากษาของศาลฎีกาแห่งสหราชอาณาจักรในคดี Miller กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา -- บทที่ 4 จากคดี Miller I ถึงคดี Miller II: หลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาภายหลัง ค.ศ. 2017 -- บทที่ 5 ข้อความส่งท้าย

ในช่วงพ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญซึ่งชักชวนให้บรรดานักกฎหมายต้องหันมาอภิปรายกลไกของรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักร ได้แก่ ผลของการออกเสียงประชามติเบร็กซิท (Brexit) ซึ่งประชาชนเสียงข้างมากได้ลงคะแนนสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ผลการลงคะแนนดังกล่าวสร้างความสับสนและผิดหวังต่อประชาชนจำนวนมาก ทั้งยังนำไปสู่ความแตกแยกทางสังคมในดินแดนทั้ง 4 ส่วนของสหราชอาณาจักร ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ การเตรียมการแจ้งความประสงค์แยกตัวออกจากสหภาพยุโรปโดยรัฐบาลสหราชอาณาจักรนำไปสู่การฟ้องคดีที่รู้จักกันดีทั่วโลกอย่างคดี Miller โดยฝ่ายผู้ร้องนำโดยนางจีนา มิลเลอร์ (Gina Miller) โต้แย้งว่านิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา มิใช่พระราชอำนาจดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ (prerogative power) ดังที่รัฐบาลกล่าวอ้าง คำพิพากษาของศาลฎีกาในคดี Miller เมื่อ พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) เป็นดั่งอนุสรณ์สำคัญทางกฎหมายมหาชนที่ทำให้ผู้ศึกษากฎหมายได้มีโอกาสศึกษาหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศที่ไม่มีกฎหมายสูงสุดที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชื่อรัฐธรรมนูญ

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer