กฎหมายย่อมเป็นกฎหมาย? : ว่าด้วยสำนักกฎหมายบ้านเมืองสมัยใหม่ / ศศิภา พฤษฎาจันทร์

By: ศศิภา พฤษฎาจันทร์Call number: 340.1 ศ293ก 2564 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : ILLUMINATIONS, 2564Description: 253 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786168215333 :Subject(s): กฎหมาย -- ปรัชญา | ไทย -- การเมืองและการปกครองDDC classification: 340.1 ศ293ก 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: งานเขียนเรื่องนี้พูดถึงแนวความคิดทางกฎหมายของนักคิดในสำนักกฎหมายบ้านเมืองในศตวรรษที่ยี่สิบสองคนที่มีชื่อเสียงเลื่องระบือคือ ฮันส์ เคลเซ่น และ เอช.แอล.เอ. ฮาร์ท ศศิภาสามารถถ่ายทอดแนวความคิดของนักคิดทั้งสองออกมาได้น่าสนใจและชวนติดตามและทำให้ผู้อ่านชาวไทยเห็นทัศนะของนักคิดในสำนักกฎหมายบ้านเมืองหลังจากยุคของ จอห์น ออสติน ได้ชัดเจนขึ้น ที่สำคัญก็คืองานเขียนเรื่องนี้น่าจะช่วยทำให้ผู้อ่านเห็นภาพของสำนักกฎหมายบ้านเมืองว่าโดยเนื้อแท้แล้ว สำนักความคิดนี้ไม่ใช่สำนักความคิดฝ่ายอธรรม ดังเช่นที่ผู้เขียนคำนำเสนอใช้ความพยายามตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาชี้ให้นักศึกษาเห็นประเด็นสำคัญประเด็นนี้ เพราะในที่สุดแล้ว ทัศนะทางนิติปรัชญาแต่ละทัศนะก็ล้วนแล้วแต่พยายามที่จะให้คำตอบว่ากฎหมายคืออะไรจากการอภิปรายโต้แย้งกันในทางวิชาการทั้งสิ้น และผู้ศึกษาก็ควรจะศึกษาความคิดของนักคิดแต่ละคนอย่างปราศจากอคติ เพื่อในที่สุดแล้วจะได้มีทัศนะที่รอบด้านและหนักแน่นเป็นของตนเองได้
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 340.1 ศ293ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000028701
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 340.1 ศ293ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000028702

งานเขียนเรื่องนี้พูดถึงแนวความคิดทางกฎหมายของนักคิดในสำนักกฎหมายบ้านเมืองในศตวรรษที่ยี่สิบสองคนที่มีชื่อเสียงเลื่องระบือคือ ฮันส์ เคลเซ่น และ เอช.แอล.เอ. ฮาร์ท ศศิภาสามารถถ่ายทอดแนวความคิดของนักคิดทั้งสองออกมาได้น่าสนใจและชวนติดตามและทำให้ผู้อ่านชาวไทยเห็นทัศนะของนักคิดในสำนักกฎหมายบ้านเมืองหลังจากยุคของ จอห์น ออสติน ได้ชัดเจนขึ้น ที่สำคัญก็คืองานเขียนเรื่องนี้น่าจะช่วยทำให้ผู้อ่านเห็นภาพของสำนักกฎหมายบ้านเมืองว่าโดยเนื้อแท้แล้ว สำนักความคิดนี้ไม่ใช่สำนักความคิดฝ่ายอธรรม ดังเช่นที่ผู้เขียนคำนำเสนอใช้ความพยายามตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาชี้ให้นักศึกษาเห็นประเด็นสำคัญประเด็นนี้ เพราะในที่สุดแล้ว ทัศนะทางนิติปรัชญาแต่ละทัศนะก็ล้วนแล้วแต่พยายามที่จะให้คำตอบว่ากฎหมายคืออะไรจากการอภิปรายโต้แย้งกันในทางวิชาการทั้งสิ้น และผู้ศึกษาก็ควรจะศึกษาความคิดของนักคิดแต่ละคนอย่างปราศจากอคติ เพื่อในที่สุดแล้วจะได้มีทัศนะที่รอบด้านและหนักแน่นเป็นของตนเองได้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer