รีพับลิก / เพลโต ; เวธัส โพธารามิก, แปล

By: เพลโตContributor(s): เวธัส โพธารามิกCall number: 321.07 พ919ร 2564 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : ทับหนังสือ, 2562Edition: พิมพ์ครั้งที่ 5Description: 720 หน้า ; 22 ซมISBN: 9786165651189 :Subject(s): การเมือง -- ปรัชญา | รัฐศาสตร์ | ยูโธเปีย | การตัดสิน | อารยธรรมDDC classification: 321.07 พ919ร 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: นิยามคำว่า “ธรรมะ” เพลโตเองก็ไม่อาจกระทำได้ง่ายๆ เพราะเพลโตยอมรับว่าสังคมที่เป็นอยู่นั้น เลว มนุษย์ส่วนมากก็ล้วนมีอวิชชา เพลโตจึงต้องสร้างรัฐขึ้นมาใหม่ สร้างราษฎรขึ้นมาใหม่ มีระบบการศึกษาใหม่ ด้วยเหตุฉะนี้ “รีพับลิก” จึงเป็นทฤษฎีทั้งในทางการเมือง การศึกษา ศิลปะ วิทยาการ วรรณคดี และลัทธิศาสนา พร้อมอยู่ในตัว แม้เมื่อสรุปลงแล้ว เพลโตอาจจะตอบปัญหาบางประการถึงใจเรา แต่วิธีเสนอข้อคิดความเห็นก็เป็นไปตามเหตุตามผลสมกับเป็นหนังสือปรัชญา ปรัชญาผิดกับวิชาอื่นๆ และนักปราชญ์ก็ผิดกับฅนอื่นๆทั้งหลาย สรุปได้ว่า “นักปราชญ์คือ ฅนที่มีอำนาจความคิดยิ่งกว่าสามัญชน เป็นฅนที่คิดในเรื่องธรรมดาๆ ยิ่งกว่าบุคคลอื่น ผลที่ได้จึงเป็นความจริงอันมีเหตุผลสนับสนุน”
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 321.07 พ919ร 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Checked out 26/12/2023 3000029551
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 321.07 พ919ร 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000029552

นิยามคำว่า “ธรรมะ” เพลโตเองก็ไม่อาจกระทำได้ง่ายๆ เพราะเพลโตยอมรับว่าสังคมที่เป็นอยู่นั้น เลว มนุษย์ส่วนมากก็ล้วนมีอวิชชา เพลโตจึงต้องสร้างรัฐขึ้นมาใหม่ สร้างราษฎรขึ้นมาใหม่ มีระบบการศึกษาใหม่ ด้วยเหตุฉะนี้ “รีพับลิก” จึงเป็นทฤษฎีทั้งในทางการเมือง การศึกษา ศิลปะ วิทยาการ วรรณคดี และลัทธิศาสนา พร้อมอยู่ในตัว แม้เมื่อสรุปลงแล้ว เพลโตอาจจะตอบปัญหาบางประการถึงใจเรา แต่วิธีเสนอข้อคิดความเห็นก็เป็นไปตามเหตุตามผลสมกับเป็นหนังสือปรัชญา ปรัชญาผิดกับวิชาอื่นๆ และนักปราชญ์ก็ผิดกับฅนอื่นๆทั้งหลาย สรุปได้ว่า “นักปราชญ์คือ ฅนที่มีอำนาจความคิดยิ่งกว่าสามัญชน เป็นฅนที่คิดในเรื่องธรรมดาๆ ยิ่งกว่าบุคคลอื่น ผลที่ได้จึงเป็นความจริงอันมีเหตุผลสนับสนุน”

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer