ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบทางสังคม / สมศักดิ์ สามัคคีธรรม
Call number: 351.593 ส282ธ 2564 Material type: BookPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2564Description: 474 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซมISBN: 9786164820517 :Subject(s): การบริหารรัฐกิจ | ธรรมรัฐ | การควบคุมการบริหารองค์การ | ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจDDC classification: 351.593 ส282ธ 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)Item type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 351.593 ส282ธ 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000027101 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 351.593 ส282ธ 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000027102 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
351.593 ว711น 2564 นี่คือแผ่นดินที่ดีแห่งหนึ่งของโลก / | 351.593 ว768ล 2562 ลงเรือแป๊ะ / | 351.593 ว768ล 2562 ลงเรือแป๊ะ / | 351.593 ส282ธ 2564 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบทางสังคม / | 351.593 ส282ธ 2564 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบทางสังคม / | 351.593 ห323 2561 หลักธรรมาภิบาล : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติในสังคมไทย / | 351.593 ห323 2561 หลักธรรมาภิบาล : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติในสังคมไทย / |
ธรรมาภิบาล -- ผลประโยชน์ทับซ้อน ภาคีภิบาล และธรรมาภิบาล -- แนวคิดธรรมาภิบาล -- ความสำนึกรับผิดชอบ -- ความโปร่งใสและการเปิดเผยข้อมูล -- การมีส่วนร่วมสาธารณะ -- หลักนิติรัฐ/นิติธรรม -- ธรรมาภิบาล การถ่วงดุลอำนาจ ประชาธิปไตย และการพัฒนา -- ความหมาย ความสำคัญ และพัฒนาการของ CSR -- ทฤษฎีว่าด้วย CSR -- การจำแนกประเภทของ CSR -- การนำ CSR ไปปฏิบัติในองค์การ -- การทำดีแก่สังคมของภาคเอกชน (นอกเหนือจาก CSR) -- ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง CSR และการพัฒนาที่ยั่งยืน -- บทส่งท้าย: ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบทางสังคม กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
หนังสือเล่มนี้ได้แบ่งเนื้อหาออกเป็นสองภาค ภาคแรกว่าด้วย "หลักธรรมาภิบาล" ซึ่งอธิบายถึงพัฒนาการของแนวคิดอย่างละเอียด พร้อมทั้งอภิปรายถกเถียงเชิงทฤษฎีอย่างเป็นระบบและครอบคลุมมิติต่างๆ ของหลักธรรมาภิบาล ภาคที่สองว่าด้วย "ความรับผิดชอบทางสังคมขององค์กร" ซึ่งเป็นการพยายามที่จะตอบคำถามที่ว่า องค์การที่แสวงหากำไรและไม่แสวงหากำไรต่างๆ ควรมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างไร และทำไม? รวมทั้ง สามารถเชื่อมโยงความรับผิดชอบทางสังคมเข้ากับการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนได้อย่างไร? นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เนื้อหาเชิงทฤษฎี และการประยุกต์ในเชิงปฏิบัติ ในบทสุดท้ายยังได้เชื่อมโยงกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาที่ยั่งยืนได้อย่างน่าสนใจ
There are no comments on this title.