กบฏชาวนา : มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม / รณชิต คูหา ; ปรีดี หงษ์สต้น แปล
Call number: 301.4443 ร123ก 2563 Material type: BookPublisher: กรุงเทพฯ : อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์, 2563Description: 613 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786168215272 :Subject(s): การจลาจลของชาวไร่ชาวนา -- อินเดีย | อินเดีย -- การเมืองและการปกครองDDC classification: 301.4443 ร123ก 2563 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)Item type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 301.4443 ร123ก 2563 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000028408 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 301.4443 ร123ก 2563 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000028409 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
301 อ884 2561 ล.1 เอกสารการสอนชุดวิชา สังคมมนุษย์ หน่วยที่ 1-8 = Human society / | 301 อ884 2561 ล.2 เอกสารการสอนชุดวิชา สังคมมนุษย์ หน่วยที่ 9-15 = Human society / | 301.4443 ร123ก 2563 กบฏชาวนา : มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม / | 301.4443 ร123ก 2563 กบฏชาวนา : มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม / | 302 ก889ศ 2563 ศิลปะแห่งการอ่านคน = Talking to Strangers / | 302 ก889ศ 2563 ศิลปะแห่งการอ่านคน = Talking to Strangers / | 302 ค163จ 2563 จิตวิทยาสังคม : ความรู้ฉบับพกพา = Social psychology / |
แปลจาก: Elementary aspects of peasant insurgency in colonial India. 1983.
1. บทนำ -- 2. การกลับด้าน -- 3. ความคลุมเครือ -- 4. ลักษณะร่วม -- 5. ความเป็นปึกแผ่น -- 6. การแพร่กระจาย -- 7. อาณาเขต -- 8. บทส่งท้าย
กบฏชาวนา: มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม เขียนโดย รณชิต คูหา และแปลเป็นภาษาไทยอย่างทั้งราบรื่นและแหลมคมโดย ปรีดี หงษ์สตัน เป็นตัวอย่างของประวัติศาสตร์ฉบับประชาชนที่สะท้อนว่า ประชาชนกระทำอะไร ประชาชนถูกกระทบโดยอำนาจโหดร้ายป่าเถื่อนอย่างไร และประชาชนต่อต้านความโหดร้ายป่าเถื่อนของผู้มีอำนาจอย่างไร แทนที่จะเล่าเขียนว่า ยุคอาณานิคมอังกฤษในอินเดียวเป็นช่วงที่อังกฤษได้ครอบงำควบคุมอินเดียอย่างมิชิด คูหากลับเขียนประวัติศาสตร์อินเดียยุคอาณานิคมอังกฤษฉบับใหม่ เป็นฉบับประชาชน โดยการเขียนประวัติศาสตร์ของกบฏชาวนาจากมุมมองชาวนาและโดยการวางเอาชาวนาเป็นผู้กระทำหลักของเรื่อง และความคิดและจิตสำนึกของชาวนาเองเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดมีกบฏ และการเปลี่ยนแปลงในสังคมการเมือง และทำให้ประวัติศาสตร์เดินหน้าต่อไป ประวัติศาสตร์ที่ผู้อ่านจะได้พบในเล่มนี้ไม่ใช่ของผู้มีอำนาจ แต่เป็นของผู้ที่กำลังจะไปคว้าเอาอำนาจนั้นมา
There are no comments on this title.