ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแห่งประเทศไทย = The economic history of Thailand / พอพันธ์ อุยยานนท์
Call number: 330.9593 ก222ป 2564 Material type: BookPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564Description: 373 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซมISBN: 9789740339847 :Other title: The economic history of ThailandSubject(s): ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ | ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจDDC classification: 330.9593 ก222ป 2564 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: นำเสนอบทวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของจุดเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของค่าจ้างและรายได้ของประเทศไทย ซึ่งมีพัฒนาการมาจาก "ประเทศที่มีค่าแรง (รายได้) สูง" และกลายเป็น "ประเทศที่มีค่าแรง (รายได้) ต่ำ" ซึ่งเกิดขึ้นในทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเกิดขึ้นในชนบท และกลายเป็นประเทศที่ขาดแคลนแรงงานในบางสาขาการผลิต ซึ่งเกิดขึ้นในทศวรรษ 2530 โดยศึกษาปัจจัยที่กำหนดค่าจ้าง คือ การเปลี่ยนแปลงของประชากร อุปทานแรงงานภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ในทศวรรษ 2470 ผลของเงินเฟ้อในช่วงและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลาดแรงงานผลิตภาพการผลิตในภาคเกษตร และศึกษาถึงจุดเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานที่มีแนวโน้มจะ "ขาดแคลน" แรงงานมากยิ่งขึ้นหลัง พ.ศ. 2529.Item type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 330.9593 ก222ป 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000029632 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 330.9593 ก222ป 2564 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000029633 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400, Collection: Non-fiction Close shelf browser (Hides shelf browser)
นำเสนอบทวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของจุดเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของค่าจ้างและรายได้ของประเทศไทย ซึ่งมีพัฒนาการมาจาก "ประเทศที่มีค่าแรง (รายได้) สูง" และกลายเป็น "ประเทศที่มีค่าแรง (รายได้) ต่ำ" ซึ่งเกิดขึ้นในทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเกิดขึ้นในชนบท และกลายเป็นประเทศที่ขาดแคลนแรงงานในบางสาขาการผลิต ซึ่งเกิดขึ้นในทศวรรษ 2530 โดยศึกษาปัจจัยที่กำหนดค่าจ้าง คือ การเปลี่ยนแปลงของประชากร อุปทานแรงงานภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ในทศวรรษ 2470 ผลของเงินเฟ้อในช่วงและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตลาดแรงงานผลิตภาพการผลิตในภาคเกษตร และศึกษาถึงจุดเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานที่มีแนวโน้มจะ "ขาดแคลน" แรงงานมากยิ่งขึ้นหลัง พ.ศ. 2529.
There are no comments on this title.