ยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 / พิทยา สุวคันธ์

By: พิทยา สุวคันธ์Call number: 346.092 พ671ย 2563 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563Description: 507 หน้า : แผนที่ ; 24 ซมISBN: 9786163146304 :Subject(s): การลงทุนของจีน -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้DDC classification: 346.092 พ671ย 2563 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents)
Partial contents:
ยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 -- การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 -- ปัจจัยทางยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 กับการเปลี่ยนแปลงภูมิเศรษฐศาสตร์ -- ผลกระทบจากการดำเนินยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 กับการเปลี่ยนแปลงภูมิศาสตร์
Summary: สาธารณรัฐประชาชนจีนกำลังทะยานขึ้นจากมหาอำนาจระดับภูมิภาค (Regional Power) เป็นมหาอำนาจระดับโลก (Global Power) เพียงช่วงระยะเวลา 40 ปี เท่านั้น จากการปฏิรูปเศรษฐกิจด้วยนโยบายสี่ทันสมัย (Four Modernizations) โดย เติ้ง เสี่ยวผิงผู้นำรุ่นที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1978-1997 ของจีนต่อจาก เหมา เจ๋อตง ที่ถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1976 เติ้ง เสี่ยวผิง กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของจีนโดยเน้นการปฏิรูปเกษตรกรรมให้ทันสมัยก่อน ตามด้วยอุตสาหกรรมทันสมัย และต่อยอดด้วยวิทยาศาสตร์-เทคโนโลยีทันสมัย ต่อมาเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1991 จากการแตกสลายของสหภาพโซเวียตมาเป็นสมาพันธรัฐรัสเซียและกลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชที่อ่อนแอและแตกแยกผู้นำจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจียง เจ๋อหมิน ผู้นำรุ่นที่ 3 ซึ่งดำรงตำแหน่งเลขาธิการใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ระหว่าง ค.ศ. 1992-2002 เริ่มกังวลว่า จีนอาจถูกอภิมหาอำนาจหนึ่งเดียว (Unipolar Supreme Power) ในขณะนั้น คือ สหรัฐอเมริกา กดดันจีนให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่สหรัฐอเมริกาต้องการ ดังนั้น เจียง เจ๋อหมิน จึงตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ใน ค.ศ. 1994 ที่จะพัฒนาการป้องกันประเทศให้ทันสมัย
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 346.092 พ671ย 2563 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000029978
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 346.092 พ671ย 2563 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000029979

ยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 -- การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 -- ปัจจัยทางยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 กับการเปลี่ยนแปลงภูมิเศรษฐศาสตร์ -- ผลกระทบจากการดำเนินยุทธศาสตร์การลงทุนของจีนในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้นโยบายสีจิ้นผิงในศตวรรษที่ 21 กับการเปลี่ยนแปลงภูมิศาสตร์

สาธารณรัฐประชาชนจีนกำลังทะยานขึ้นจากมหาอำนาจระดับภูมิภาค (Regional Power) เป็นมหาอำนาจระดับโลก (Global Power) เพียงช่วงระยะเวลา 40 ปี เท่านั้น จากการปฏิรูปเศรษฐกิจด้วยนโยบายสี่ทันสมัย (Four Modernizations) โดย เติ้ง เสี่ยวผิงผู้นำรุ่นที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1978-1997 ของจีนต่อจาก เหมา เจ๋อตง ที่ถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1976 เติ้ง เสี่ยวผิง กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของจีนโดยเน้นการปฏิรูปเกษตรกรรมให้ทันสมัยก่อน ตามด้วยอุตสาหกรรมทันสมัย และต่อยอดด้วยวิทยาศาสตร์-เทคโนโลยีทันสมัย ต่อมาเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1991 จากการแตกสลายของสหภาพโซเวียตมาเป็นสมาพันธรัฐรัสเซียและกลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชที่อ่อนแอและแตกแยกผู้นำจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจียง เจ๋อหมิน ผู้นำรุ่นที่ 3 ซึ่งดำรงตำแหน่งเลขาธิการใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ระหว่าง ค.ศ. 1992-2002 เริ่มกังวลว่า จีนอาจถูกอภิมหาอำนาจหนึ่งเดียว (Unipolar Supreme Power) ในขณะนั้น คือ สหรัฐอเมริกา กดดันจีนให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่สหรัฐอเมริกาต้องการ ดังนั้น เจียง เจ๋อหมิน จึงตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์ใน ค.ศ. 1994 ที่จะพัฒนาการป้องกันประเทศให้ทันสมัย

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer