ตำนานทิ้งคนแก่ในเรื่องเล่าญี่ปุ่น / อรรถยา สุวรรณระดา

By: อรรถยา สุวรรณระดาCall number: 398.20952 อ358ต 2563 Material type: BookBookPublisher: กรุงเทพฯ : สำนั้กพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563Description: 107 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786165721899 :Subject(s): ตำนาน -- ญี่ปุ่น | วรรณกรรมญี่ปุ่น | ผู้สูงอายุ -- ภาวะสังคมDDC classification: 398.20952 อ358ต 2563 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: ตำนานทิ้งคนแก่เป็นตำนานเก่าแก่ที่เล่าสืบต่อกันมาของญี่ปุ่น และถูกกล่าวถึงในวรรณกรรมญี่ปุ่นหลายชิ้น ตำนานนี้สะท้อนความคิดและท่าทีการปฏิบัติต่อผู้สูงอายุของคนญี่ปุ่น ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งเป็นปัญหาสังคมที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การศึกษาเรื่องเล่าเกี่ยวกับตำนานทิ้งคนแก่เหล่าหนี้อาจช่วยให้เข้าใจปัญหานี้มากขึ้น และจากการที่ตำนานเหล่านี้ถูกเล่าสืบต่อกันมาอย่างยาวนานจึงน่าจะแสดงให้เห็นว่าตำนานเหล่านี้มีคุณค่าความสำคัญหรือมีบทบาทหน้าที่บางอย่างต่อสังคม ซึ่งเป็นประเด็นที่น่าหยิบยกมาศึกษา
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 5.0 (1 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 398.20952 อ358ต 2563 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 3000026385
General Books General Books สำนักวิทยบริการ (Center)
ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400
Non-fiction 398.20952 อ358ต 2563 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 3000026386

ตำนานทิ้งคนแก่เป็นตำนานเก่าแก่ที่เล่าสืบต่อกันมาของญี่ปุ่น และถูกกล่าวถึงในวรรณกรรมญี่ปุ่นหลายชิ้น ตำนานนี้สะท้อนความคิดและท่าทีการปฏิบัติต่อผู้สูงอายุของคนญี่ปุ่น ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งเป็นปัญหาสังคมที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การศึกษาเรื่องเล่าเกี่ยวกับตำนานทิ้งคนแก่เหล่าหนี้อาจช่วยให้เข้าใจปัญหานี้มากขึ้น และจากการที่ตำนานเหล่านี้ถูกเล่าสืบต่อกันมาอย่างยาวนานจึงน่าจะแสดงให้เห็นว่าตำนานเหล่านี้มีคุณค่าความสำคัญหรือมีบทบาทหน้าที่บางอย่างต่อสังคม ซึ่งเป็นประเด็นที่น่าหยิบยกมาศึกษา

Comment by กัญญา จันสะบาน

20/07/2021

บันทึกประวัติศาสตร์ขึ้นอยู่กับผู้ปกครอง เรื่องเล่านี้อาจทำให้ภาพลักษณ์ของผู้ปกครองดูไม่ดี จึงถูกลบทิ้งไป แล้วมาปรากฏในลักษณะของวรรณกรรมแทน ซึ่งเป็นที่รู้กันว่า วรรณกรรมก็เป็นหนึ่งในเครื่องมือสะท้อนสังคมของยุคนั้นๆ รวมทั้งมีชื่อของสถานที่ที่มีอยู่จริงในญี่ปุ่น ในการทิ้งคนแก่ อาจจะเชื่อว่าไม่ได้ทิ้งร่างที่มีชีวิต แต่เป็นการทิ้งศพ แล้วเชิญวิญญาณกลับมา มันจึงกลายเป็นตำนานทิ้งคนแก่ของญี่ปุ่น

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer