ระเบียบสังคมโลกใต้ดิน: แก๊งเรือนจำปกครองระบบเรือนจำอเมริกาได้อย่างไร / David Skarbek ; ปทุมจิต อธิคมกมลาศัย, แปล
Call number: 365.6 ส129ร Material type: BookLanguage: Thai Original language: English Publisher: กรุงเทพฯ : กองทุนพัฒนานวัตกรรมการยุติธรรม สำนักปลัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม, [2562]Description: 254 หน้า ; 21 ซมISBN: 9786167696744 Other title: แก๊งเรือนจำปกครองระบบเรือนจำอเมริกาได้อย่างไร | The social order of the underworld | How prison gangs govern the American penal systemSubject(s): การบริหารงานราชทัณฑ์ -- สหรัฐอเมริกา | นักโทษ -- สหรัฐอเมริกา | เรือนจำ -- สหรัฐอเมริกา | การจำคุก -- สหรัฐอเมริกาDDC classification: 365.6 ส129ร Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: หนังสือ ระเบียบสังคมโลกใต้ดิน : แก๊งเรือนจำปกครอง ระบบเรือนจำอเมริกาได้อย่างไร ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เป็นตัวอธิบายทฤษฎีการตดสินใจเลือกอย่างมีเหตุผลของผู้คน 2 แนวทาง คือ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่ตั้งละเพื่อพวกพ้องเพื่อนฝูงเพราะแต่ละคนพยายามไปถึงเป้าหมายที่ตนต้องการอย่างไร โดยมีต้นทุนในการลงมือและผลประโยชน์ที่ได้รับเป็นเกณฑ์ อีกทฤษฎีหนึ่งคือทฤษฎีการปกครอง ซึ่งเป็นการจัดระเบียบสังคมในเรือนจำ แก๊งเรือนจำก่อตั้งขึ้นเพื่อช่วยปกครองนอกเหนือขอบเขตของกฎหมาย เมื่อผู้ต้องขังต้องการ และเมื่อกลไก การปกครองอย่างเป็นทางการไร้ประสิทธิภาพหรือไม่มีกลไกดังกล่าวItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 4 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 000-400 | Non-fiction | 365.6 ส129ร (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Available | 3000026440 |
บรรณานุกรม
หนังสือ ระเบียบสังคมโลกใต้ดิน : แก๊งเรือนจำปกครอง ระบบเรือนจำอเมริกาได้อย่างไร ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เป็นตัวอธิบายทฤษฎีการตดสินใจเลือกอย่างมีเหตุผลของผู้คน 2 แนวทาง คือ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่ตั้งละเพื่อพวกพ้องเพื่อนฝูงเพราะแต่ละคนพยายามไปถึงเป้าหมายที่ตนต้องการอย่างไร โดยมีต้นทุนในการลงมือและผลประโยชน์ที่ได้รับเป็นเกณฑ์ อีกทฤษฎีหนึ่งคือทฤษฎีการปกครอง ซึ่งเป็นการจัดระเบียบสังคมในเรือนจำ แก๊งเรือนจำก่อตั้งขึ้นเพื่อช่วยปกครองนอกเหนือขอบเขตของกฎหมาย เมื่อผู้ต้องขังต้องการ และเมื่อกลไก การปกครองอย่างเป็นทางการไร้ประสิทธิภาพหรือไม่มีกลไกดังกล่าว
Comment by กัญญา จันสะบาน
21/07/2021การคุมขังอย่างมหาศาล (mass incarceration) ในทุกสังคมไม่พบว่าเป็นประโยชน์ในด้านใด ๆ ทั้งต่อผู้ถูกคุมขังและครอบครัวตลอดจนสังคมนั้นอย่างแท้จริงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งในประเทศอันมีบทบาทสำคัญต่อทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยเกือบทุกด้าน รวมทั้งกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม แต่จากการที่สหรัฐอเมริกามีอัตราส่วนผู้ต้องขังต่อประชากรมากที่สุดในโลก อันเรียกว่า "เสพติด (การใช้) การคุมขัง" อันเป็นส่วนหนึ่งของปรากฏการณ์ "กฎหมายอาญา" เฟ้อ ไม่น่าจะเป็นตัวอย่างที่ดีนัก หนังสือเล่มนี้เป็นแนวทางเบื้องต้นให้เห็นภาพอนาคตหากประเทศไทยเลือกที่จะใช้แนวทางแก้ไขปัญหาการคุมขังผู้คนจำนวนมากภายใต้แนวคิดการเติบโตทางเศรษฐกิจภายใต้ระบบทุนนิยมอย่างสุดโต่ง ดังเป็นปัญหาที่สหรัฐอเมริกาประสบอยู่ในปัจจุบัน