ตำรายาศิลาจารึก วัดพระเชตุพนฯ ฉบับสมบูรณ์ / จิรวัฒน์ วรชัย, บรรณาธิการ
Call number: 615.11 ต367 Material type: BookPublisher: นนทบุรี : ศรีปัญญา, [2561]Description: 483 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซมISBN: 9786164370470 :Subject(s): ยาแผนโบราณ -- ไทย | ยาสมุนไพร -- ไทย | สมุนไพร -- การใช้รักษา | การแพทย์แผนโบราณ | ตำรับยาหลวงDDC classification: 615.11 ต367 Online resources: ดูปกและสารบัญ (see cover and contents) Summary: สำหรับ "ตำรายาวัดโพธิ์" และ "ตำรานวดแผนโบราณ-ฤๅษีดัดตน" ฉบับสมบูรณ์ เล่มนี้ เป็นตำราที่จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระอารามหลวง วัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดเก่าแก่และเป็นวัดประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อมีการบูรณะปฏิสังขรวัดครั้งใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ ได้โปรดเกล้าให้รวบรวมสรรพวิชาการแขนงต่างๆ จารึกบนศิลาหรือแผ่นศิลา รวมทั้งได้ปั้นรูปฤๅษีดัดตนด้วยท่าทางต่างๆ ประดับไว้ภายในบริเวณวัดด้วย สำหรับตำรายาวัดโพธิ์นับได้ว่าเป็นอีกหมวดหนึ่งของแพทย์แผนโบราณหรือหมอพื้นบ้านที่ได้รับความเชื่อถือและยอมรับในสรรพคุณยาอันวิเศษ แพทย์ไทยสมัยโบราณหรือหมอพื้นบ้านได้ใช้ตำรายาวัดโพธิ์เป็นตำรับหลักในการรักษาผู้ป่วยเบื้องต้นมาอย่างยาวนานก่อนจะเปลี่ยนมาใช้การรักษาแบบแผนปัจจุบัน นอกจากนี้การใช้ยาหรือสมุนไพรพื้นบ้านที่หาได้ง่ายช่วยรักษาในเบื้องต้นยังประหยัดค่าใช้จ่ายและสะดวกอีกด้วยItem type | Current library | Collection | Call number | Copy number | Status | Date due | Barcode |
---|---|---|---|---|---|---|---|
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | 615.11 ต367 (Browse shelf(Opens below)) | 1 | Checked out | 31/05/2024 | 3000020466 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | 615.11 ต367 (Browse shelf(Opens below)) | 2 | Available | 3000020467 | ||
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 615.11 ต367 (Browse shelf(Opens below)) | 3 | Available | 3000027297 | |
General Books | สำนักวิทยบริการ (Center) ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 | Non-fiction | 615.11 ต367 (Browse shelf(Opens below)) | 4 | Available | 3000027298 |
Browsing สำนักวิทยบริการ (Center) shelves, Shelving location: ชั้น 5 หนังสือทั่วไปภาษาไทย 500-900 Close shelf browser (Hides shelf browser)
615.107 ป496ป 2557 เป็นเภสัชกร ง่ายนิดเดียว / | 615.1072 ส854ก 2560 การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์ในงานวิจัยผลลัพธ์ทางเภสัชกรรม : การวิเคราะห์อภิมานด้วยโปรแกรม STATA = | 615.1072 ส854ก 2560 การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์ในงานวิจัยผลลัพธ์ทางเภสัชกรรม : การวิเคราะห์อภิมานด้วยโปรแกรม STATA = | 615.11 ต367 ตำรายาศิลาจารึก วัดพระเชตุพนฯ ฉบับสมบูรณ์ / | 615.11 ต367 ตำรายาศิลาจารึก วัดพระเชตุพนฯ ฉบับสมบูรณ์ / | 615.11 ต367 ตำรายาศิลาจารึก วัดพระเชตุพนฯ ฉบับสมบูรณ์ / | 615.11 ต367 ตำรายาศิลาจารึก วัดพระเชตุพนฯ ฉบับสมบูรณ์ / |
สำหรับ "ตำรายาวัดโพธิ์" และ "ตำรานวดแผนโบราณ-ฤๅษีดัดตน" ฉบับสมบูรณ์ เล่มนี้ เป็นตำราที่จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระอารามหลวง วัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดเก่าแก่และเป็นวัดประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อมีการบูรณะปฏิสังขรวัดครั้งใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ ได้โปรดเกล้าให้รวบรวมสรรพวิชาการแขนงต่างๆ จารึกบนศิลาหรือแผ่นศิลา รวมทั้งได้ปั้นรูปฤๅษีดัดตนด้วยท่าทางต่างๆ ประดับไว้ภายในบริเวณวัดด้วย สำหรับตำรายาวัดโพธิ์นับได้ว่าเป็นอีกหมวดหนึ่งของแพทย์แผนโบราณหรือหมอพื้นบ้านที่ได้รับความเชื่อถือและยอมรับในสรรพคุณยาอันวิเศษ แพทย์ไทยสมัยโบราณหรือหมอพื้นบ้านได้ใช้ตำรายาวัดโพธิ์เป็นตำรับหลักในการรักษาผู้ป่วยเบื้องต้นมาอย่างยาวนานก่อนจะเปลี่ยนมาใช้การรักษาแบบแผนปัจจุบัน นอกจากนี้การใช้ยาหรือสมุนไพรพื้นบ้านที่หาได้ง่ายช่วยรักษาในเบื้องต้นยังประหยัดค่าใช้จ่ายและสะดวกอีกด้วย
Comment by กัญญา จันสะบาน
20/09/2021เล่มนี้ เป็นตำราที่จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระอารามหลวง วัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดเก่าแก่และเป็นวัดประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อมีการบูรณะปฏิสังขรวัดครั้งใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๓ ได้โปรดเกล้าให้รวบรวมสรรพวิชาการแขนงต่างๆ จารึกบนศิลาหรือแผ่นศิลา รวมทั้งได้ปั้นรูปฤๅษีดัดตนด้วยท่าทางต่างๆ ประดับไว้ภายในบริเวณวัด หนังสือเล่มนี้จึงเป็นตำรายาที่สำคัญเล่มหนึ่งที่ควรค่าต่อการศึกษาต่อยอดทางภูมิปัญญาและปรับปรุงวงการแพทย์แผนโบราณให้พัฒนาและก้าวหน้ายิ่งขึ้น