ความคิดเห็นของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย =
กัญญา ตั้งสุวรรณรังษี.
ความคิดเห็นของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย = Ramkhamhaeng university students' opinion of thai desserts / Ramkhamhaeng university students' opinion of thai desserts. สรุปผลการวิจัย เรื่อง ความคิดเห็นของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย. กัญญา ตั้งสุวรรณรังษี. - พิมพ์สำเนา - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2545 - 133 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
บรรณานุกรม.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษ่ามหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย กลุ่มประชาชรที่ใชืในการศึกษา คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2541 จำนวน 800 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผู้วิจันได้สร้างขึ้นเอง ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ชอบขนมไททประเภทข้นหรือแข็งมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 97.0 รองลงมาเป็นประเภทเปียก ร้อยละ 95.6 และประเภทเหลว ร้อยละ 95.5 รับประทานขนมไทย 2.4 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 54.6 มีราคาเหมาะสมกับปริมาณ ร้อยละ 61.6 และร้อยละ 89.3 เห็นว่าเหมาะสมกับบุคคลทุกวัย นักศึกษาชายและหญิงมีความทรู้สึกต่อลักษณะขนมไทยทุกประเภทไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต .05 เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับขนมไทยของนักศึกษาที่มีภูมิลำเนาต่างกัน พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ในด้านขนมไทยชนิดแห้ง ประเภทเปียกและประเภทข้น
อภินันทนาการ
ขนม--ประวัติ--ไทย
การปรุงอาหาร--ประเพณี
ความคิดเห็นของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย = Ramkhamhaeng university students' opinion of thai desserts / Ramkhamhaeng university students' opinion of thai desserts. สรุปผลการวิจัย เรื่อง ความคิดเห็นของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย. กัญญา ตั้งสุวรรณรังษี. - พิมพ์สำเนา - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2545 - 133 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
บรรณานุกรม.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษ่ามหาวิทยาลัยรามคำแหงที่มีต่อขนมไทย กลุ่มประชาชรที่ใชืในการศึกษา คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2541 จำนวน 800 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผู้วิจันได้สร้างขึ้นเอง ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ชอบขนมไททประเภทข้นหรือแข็งมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 97.0 รองลงมาเป็นประเภทเปียก ร้อยละ 95.6 และประเภทเหลว ร้อยละ 95.5 รับประทานขนมไทย 2.4 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 54.6 มีราคาเหมาะสมกับปริมาณ ร้อยละ 61.6 และร้อยละ 89.3 เห็นว่าเหมาะสมกับบุคคลทุกวัย นักศึกษาชายและหญิงมีความทรู้สึกต่อลักษณะขนมไทยทุกประเภทไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต .05 เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับขนมไทยของนักศึกษาที่มีภูมิลำเนาต่างกัน พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ในด้านขนมไทยชนิดแห้ง ประเภทเปียกและประเภทข้น
อภินันทนาการ
ขนม--ประวัติ--ไทย
การปรุงอาหาร--ประเพณี