ทุน วัง คลัง (ศักดิ) นา : สมรภูมิเศรษฐกิจการเมืองไทย กับประชาธิปไตยที่ไม่ลงหลักปักฐาน /
อภิชาต สถิตนิรามัย
ทุน วัง คลัง (ศักดิ) นา : สมรภูมิเศรษฐกิจการเมืองไทย กับประชาธิปไตยที่ไม่ลงหลักปักฐาน / อภิชาต สถิตนิรามัย และ อิสร์กุล อุณหเกตุ - กรุงเทพฯ : มติชน, 2564 - 343 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บทนำ เศรษฐกิจแบบตลาดก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริง (พ.ศ.2398)การเปลี่ยนแปลงระบบกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต : ความเหลื่อมล้ำกับความขัดแย้งทางการเมือง-- การบุกเบิกจับจองที่ดินเพื่อการเพาะปลูก-- การถือครองที่ดิน : ความเหลื่อมล้ำแห่งยุคเศรษฐกิจสมัยใหม่-- การรับรองระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยรัฐ--พระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์ : ศูนย์กลางแห่งความขัดแย้งทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองเก่ากับชนชั้นปกครองใหม่-- ภูมิหลังและการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของพระคลังข้างที่-- วิวาทะและความขัดแย้งว่าด้วยพระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์--ปฏิรูประบบการคลัง : จากผลประโยชน์ของชนชั้นปกครองกระจายสู่ประชาชน-- ระบบการคลังก่อนการปฏิวัติ 2475-- ระบบการคลังกับความเหลื่อมล้ำ ภายใต้การรวมศูนย์อำนาจของชนชั้นปกครอง-- พัฒนาการและผลกระทบของภาษีและอากรที่สำคัญ-- ประมุขแห่งรัฐ ความมั่นคง และการพัฒนา : แนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายภาครัฐ--การศึกษาและสาธารณสุข : หนทางแห่งการปฏิรูปสวัสดิการสังคม-- การศึกษาเพื่อชนชั้นนำหรือเพื่อมวลชน-- "สาธารณสุข" จากแนวคิดการกุศลสู่โครงสร้างพื้นฐานด้านสุขภาพ--บทสรุป : การเปลี่ยนแปลงทางสถาบันกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางการเมืองกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางเศรษฐกิจกับความเหลื่อมล้ำ-- ความลงท้าย
"ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในระดับสูงที่ดำรงอยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น ได้กลายเป็นแรงจูงใจสำคัญของชนชั้นปกครองเก่าที่ต่อต้านระบอบการปกครองใหม่แบบประชาธิปไตย เนื่องจากหากยอมให้ระบอบนี้ลงหลักปักฐานได้สำเร็จแล้ว ฝ่ายตนจะต้องยอมรับการกระจายทรัพยากรให้แก่ชนส่วนใหญ่ของสังคมมากเกินกว่าที่ตนจะยอมรับได้
9789740217602 : 285
การคลังสาธารณะ--ไทย
การปฏิรูปที่ดิน--ไทย
ทรัพย์สิน--ไทย
ไทย--การเมืองและการปกครอง
352.1593 / อ252ท 2564
ทุน วัง คลัง (ศักดิ) นา : สมรภูมิเศรษฐกิจการเมืองไทย กับประชาธิปไตยที่ไม่ลงหลักปักฐาน / อภิชาต สถิตนิรามัย และ อิสร์กุล อุณหเกตุ - กรุงเทพฯ : มติชน, 2564 - 343 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บทนำ เศรษฐกิจแบบตลาดก่อนสนธิสัญญาเบาว์ริง (พ.ศ.2398)การเปลี่ยนแปลงระบบกรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิต : ความเหลื่อมล้ำกับความขัดแย้งทางการเมือง-- การบุกเบิกจับจองที่ดินเพื่อการเพาะปลูก-- การถือครองที่ดิน : ความเหลื่อมล้ำแห่งยุคเศรษฐกิจสมัยใหม่-- การรับรองระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยรัฐ--พระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์ : ศูนย์กลางแห่งความขัดแย้งทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองเก่ากับชนชั้นปกครองใหม่-- ภูมิหลังและการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของพระคลังข้างที่-- วิวาทะและความขัดแย้งว่าด้วยพระราชอำนาจในการจัดการทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์--ปฏิรูประบบการคลัง : จากผลประโยชน์ของชนชั้นปกครองกระจายสู่ประชาชน-- ระบบการคลังก่อนการปฏิวัติ 2475-- ระบบการคลังกับความเหลื่อมล้ำ ภายใต้การรวมศูนย์อำนาจของชนชั้นปกครอง-- พัฒนาการและผลกระทบของภาษีและอากรที่สำคัญ-- ประมุขแห่งรัฐ ความมั่นคง และการพัฒนา : แนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงของการใช้จ่ายภาครัฐ--การศึกษาและสาธารณสุข : หนทางแห่งการปฏิรูปสวัสดิการสังคม-- การศึกษาเพื่อชนชั้นนำหรือเพื่อมวลชน-- "สาธารณสุข" จากแนวคิดการกุศลสู่โครงสร้างพื้นฐานด้านสุขภาพ--บทสรุป : การเปลี่ยนแปลงทางสถาบันกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางการเมืองกับความเหลื่อมล้ำ-- สถาบันทางเศรษฐกิจกับความเหลื่อมล้ำ-- ความลงท้าย
"ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในระดับสูงที่ดำรงอยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น ได้กลายเป็นแรงจูงใจสำคัญของชนชั้นปกครองเก่าที่ต่อต้านระบอบการปกครองใหม่แบบประชาธิปไตย เนื่องจากหากยอมให้ระบอบนี้ลงหลักปักฐานได้สำเร็จแล้ว ฝ่ายตนจะต้องยอมรับการกระจายทรัพยากรให้แก่ชนส่วนใหญ่ของสังคมมากเกินกว่าที่ตนจะยอมรับได้
9789740217602 : 285
การคลังสาธารณะ--ไทย
การปฏิรูปที่ดิน--ไทย
ทรัพย์สิน--ไทย
ไทย--การเมืองและการปกครอง
352.1593 / อ252ท 2564